รูปภาพที่ 1 : ปริมาณการส่งออกข้าวหอมมะลิไทยไปจีน ปี พ.ศ.2546-2556ที่มา translation - รูปภาพที่ 1 : ปริมาณการส่งออกข้าวหอมมะลิไทยไปจีน ปี พ.ศ.2546-2556ที่มา Chinese how to say

รูปภาพที่ 1 : ปริมาณการส่งออกข้าวหอ

รูปภาพที่ 1 : ปริมาณการส่งออกข้าวหอมมะลิไทยไปจีน ปี พ.ศ.2546-2556
ที่มา : เรียบเรียงโดยผู้วิจัยจากข้อมูลสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, สานักมาตรฐานสินค้า, สามาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

จะเห็นได้ว่าสาหรับข้าวไทยในตลาดจีน ราวครึ่งหนึ่งเป็นข้าวหอมมะลิ ซึ่งเป็นสินค้าเอกลักษณ์ที่มีคุณภาพสูงเป็นพิเศษ (Exotic) ในตลาดจีน โดยถือเป็นข้าวยอดนิยมใน 3 พื้นที่หลักของจีน ได้แก่ (1) มณฑลทางใต้ เช่น กว่างตงและฝูเจี้ยน ที่นิยมบริโภคข้าวเมล็ดยาวเช่นเดียวกับคนไทย (2) มหานครที่มีความเจริญสูง เช่น
เซี่ยงไฮ้และปักกิ่ง เนื่องจากเป็นศูนย์รวมของกลุ่มคนจีนที่อพยพมาจากทางตอนใต้ ชาวจีนโพ้นทะเล ชาวสิงคโปร์ ฮ่องกง ไต้หวัน และชาวตะวันตก (3) เมืองเจริญรุ่งเรืองใหม่ๆ เกือบทุกมณฑลของจีน อาทิ มหานครฉงชิ่ง นคร เฉิงตู นครฉางซา นครคุนหมิง เมืองเวินโจว หนิงปอ ชิงเต่า และต้าเหลียน เป็นต้น โดยรวมแล้วข้าวหอมมะลิไทยจึงเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้มีรายได้และรสนิยมสูง นอกจากนี้ ยังมีการบริโภคในกลุ่มร้านอาหารและโรงแรม โดยเฉพาะตามร้านอาหารไทย ร้านอาหารกวางตุ้ง และภัตตาคารหรือโรงแรมหรูต่างๆ รวมทั้งนิยมใช้เป็นของขวัญหรือของฝากในเทศกาลสาคัญด้วย
อย่างไรก็ตาม ช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาข้าวหอมมะลิไทยที่ขายในตลาดจีน ต้องประสบปัญหาข้าวหอมมะลิปลอมปนกับข้าวชนิดอื่น แต่กลับถูกเรียกเหมารวมว่าเป็น ข้าวหอมไทย (ไท่กั๋วเซียงหมี่) ในปี พ.ศ.2555 จีนได้หันไปซื้อข้าวหอมจากเวียดนามและกัมพูชาเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากข้าวหอมที่ผลิตในประเทศทั้งสองมีคุณภาพสูงขึ้น ขณะที่ราคาต่ากว่าราคาข้าวหอมมะลิของไทยมาก ปัจจุบัน ประเทศเพื่อนบ้านของไทยทั้งเวียดนาม กัมพูชา และพม่า สามารถผลิตข้าวหอมเพื่อส่งออกมากขึ้น เพราะประเทศเหล่านี้ได้มีการพัฒนาการปลูกข้าวหอมมากขึ้น หลังจากประเทศผ่านพ้นช่วงของสงครามและมีความมั่นคงทางการเมืองมากขึ้น ทาให้ประเทศเพื่อนบ้านกลายเป็นคู่แข่งขันสาคัญที่น่ากลัวยิ่งสาหรับข้าวหอมมะลิไทยในตลาดจีน
ดังนั้น ข้าวหอมมะลิไทยจึงมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากการแข่งขันจากประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น โดยพบว่าปัจจุบันมีผู้ค้าข้าวไทยจานวนหนึ่งที่หันไปนาเข้าข้าวจากกัมพูชาและเวียดนามเพื่อส่งออกในนามข้าวหอมมะลิไทย อีกทั้งยังพบปฏิบัติการใช้ข้าวผ่านชายแดนในการสวมสิทธิ์ อาศัยประโยชน์จากนโยบายจานาข้าว ซึ่งจะเป็นปัญหาต่อชื่อเสียงและคุณภาพข้าวหอมมะลิไทยในตลาดจีนตราบที่ยังมีการเปิดช่องดังกล่าว
2. ประเภทข้าวไทยที่ขายในตลาดจีน
จากการสุ่มสารวจผลิตภัณฑ์ข้าวถุงที่จาหน่ายในประเทศจีนทั้งหมด 116 รายการ พบรายชื่อผู้ส่งออก 20 บริษัท และผู้นาเข้า 26 บริษัท สามารถจาแนก สินค้าข้าวถุงออกได้ 4 ประเภทใหญ่ คือ



ตารางที่ 1 : ประเภทข้าวไทยที่จาหน่ายในตลาดจีน ประเภท ยี่ห้อ รายการ
1. ผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิ หรือ ที่ใช้ชื่อว่าข้าวหอมไทย
52
83
2. ข้าวหอมกัมพูชา
3
3
3. ข้าวหอมจีนที่มีศักยภาพเป็นคู่แข่งข้าวหอมไทย
15
24
4. ข้าวที่ตั้งชื่อสื่ออัตลักษณ์ไทย
(แต่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับข้าวไทยอย่างสิ้นเชิง)
5
6 รวม 75 116
ที่มา : ผู้วิจัย
สาหรับราคาขายของข้าวไทยในตลาดจีนจากการสารวจ พบว่า ข้าวหอมทั่วไป เช่น ข้าวหอมปทุมจะมีราคาขายเฉลี่ยประมาณ 60-70 หยวนต่อ 5 กิโลกรัม ข้าวหอมมะลิไทยแท้จะขายราคาเฉลี่ยประมาณ 80-100 หยวนต่อ 5 กิโลกรัม ส่วนข้าวหอมกัมพูชาจะมีราคาถูกกว่าเล็กน้อย ซึ่งย่อมดึงดูดใจให้ลูกค้ากลุ่มที่อ่อนไหวต่อราคาสินค้า หันไปลิ้มลอง
ขณะที่ข้าวหอมคู่แข่งของจีนมีหลายเกรด ทั้งที่ถูกกว่าข้าวหอมไทยกว่าครึ่ง หรือมีราคาในระดับเดียวกัน หรือแม้แต่แพงกว่าข้าวหอมไทยมาก และบางยี่ห้อที่แพงกว่าไทยนั้น ในบางห้างกลับเป็นสินค้าที่ขายดีด้วย นั่นย่อมแสดงว่า ผู้บริโภคชาวจีนสมัยใหม่นั้น เน้นเรื่องคุณภาพ ความพึงพอใจ มากกว่าราคา
ส่วนกลุ่มที่เลียนแบบชื่อที่สื่อความเป็นไทยนั้น โดยเฉลี่ยแล้วจะมีราคาถูกว่าข้าวไทยแท้เกือบครึ่งหนึ่ง ลักษณะเช่นนี้ สะท้อนให้เห็นว่า ข้าวไทยเป็นข้าวที่ได้รับความนิยมและยอมรับจากผู้บริโภคจีนอย่างสูง จนถึงขนาดที่มีผู้ผลิตข้าวจีนต้องอาศัยชื่อเสียงหรืออัตลักษณ์ความเป็นไทยมาเป็นจุดขาย อย่างไรก็ตาม ด้วยความใกล้เคียงของชื่อ ย่อมจะส่งผลให้ผู้บริโภคจีนบางกลุ่มเกิดความเข้าใจผิดต่อรสชาติข้าวไทยที่แท้จริง
3. พฤติกรรมผู้บริโภคจีน
จากการสารวจตลาดจีนร่วมกับการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามผู้บริโภคจีนในเมืองหูหนัน เฉิงตู กว่างโจว และเซี่ยงไฮ้ สามารถสรุปทัศนดติและพฤติกรรมผู้บริโภคจีนต่อข้าวไทย ได้ดังนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วไม่สามารถจาแนกข้าวถุงที่บรรจุจากประเทศไทย หรือ Original Pack (รหัสบาร์โค๊ตขึ้นต้นด้วย 885) กับแบบ Repack (รหัสบาร์โค๊ตขึ้นต้นด้วย 692) ที่บรรจุใหม่ในประเทศจีนได้ ผู้บริโภคจีนให้ความสนใจหรือจดจาตราสินค้ามากกว่ามาตรฐานรับรองคุณภาพสินค้า ที่สาคัญชาวจีนส่วนใหญ่เข้าใจว่าข้าวหอมไทย (ไท่กั๋วเซียงหมี่) คือ ข้าวหอมมะลิ (ไท่กั๋วม่อลี่เซียงหมี่) เมื่อซื้อข้าวหอมธรรมดาไปบริโภค จึงรู้สึกว่าข้าวหอมมะลิไทยไม่หอมหรือไม่อร่อยเหมือนที่ร่าลือ จนสุดท้ายนาไปสู่การแสวงหาผลิตภัณฑ์ข้าวหอมประเภทอื่นแทน ซึ่งปัจจุบัน มีข้าวหอมคู่แข่งทั้งที่เป็นพันธุ์ข้าวหอมของจีนเอง เช่น เต้าฮวาเซียง หรือข้าวหอมจากกัมพูชา ฯลฯ
4. การนาเสนอผลิตภัณฑ์ข้าวไทยประเภทใหม่ๆ สู่ตลาดจีน
ผู้ส่งออกข้าวไทยทั้งหลายสามารถเพิ่มสินค้าข้าวหอมมะลิรูปแบบใหม่ๆ ให้เป็นทางเลือกแก่ผู้บริโภคจีนยุคใหม่ ที่มีพฤติกรรมชอบความหลากหลาย ชอบสินค้าแปลกใหม่มากขึ้น อาทิ
o ผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งสาเร็จรูปที่ทาจากข้าวหอมมะลิ
o ผลิตภัณฑ์พร้อมรับประทาน เช่น เมนูอาหาร + ข้าวไทยแช่แข็งต่างๆ
o ข้าวหอมมะลิไทยสาหรับเมนูอาหารที่หลากหลาย เช่น ข้าวหอมมะลิใหม่ที่เหมาะแก่การทาข้าวต้ม ข้าวหอมมะลิเก่าที่เหมาะแก่การทาข้าวผัด ฯลฯ
o ข้าวหอมมะลิเพื่อสุขภาพ เช่น ข้าวกล้อง, ข้าวหอมนพเก้า, ข้าว 9 สี 9 สมุนไพร
o ข้าวหอมมะลิบรรจุภัณฑ์ขนาดเล็ก เช่น 500 กรัม 1 ก.ก. หรือ 2 ก.ก. เพื่อดึงดูดการตัดสินใจทด
0/5000
From: -
To: -
Results (Chinese) 1: [Copy]
Copied!
图片 1: 香米出口到中国,2546年 (2003 年) 泰国-2556年 (2013 年)资料来源: 编译从农业经济的研究人员,可以是一个标准,学生可以锐化大米出口国泰国。 要看到,中国市场对泰国大米中。大约一半的泰国香米,作为中国 3 主要领域流行水稻是独特、 高品质的产品,专为中国市场 (异国情调) 如下: (1) 在广东省和福建省为例,最受欢迎的长粒大米消耗量,以及 (2),泰国曼谷与繁荣,人民เซี่ยงไฮ้และปักกิ่ง เนื่องจากเป็นศูนย์รวมของกลุ่มคนจีนที่อพยพมาจากทางตอนใต้ ชาวจีนโพ้นทะเล ชาวสิงคโปร์ ฮ่องกง ไต้หวัน และชาวตะวันตก (3) เมืองเจริญรุ่งเรืองใหม่ๆ เกือบทุกมณฑลของจีน อาทิ มหานครฉงชิ่ง นคร เฉิงตู นครฉางซา นครคุนหมิง เมืองเวินโจว หนิงปอ ชิงเต่า และต้าเหลียน เป็นต้น โดยรวมแล้วข้าวหอมมะลิไทยจึงเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้มีรายได้และรสนิยมสูง นอกจากนี้ ยังมีการบริโภคในกลุ่มร้านอาหารและโรงแรม โดยเฉพาะตามร้านอาหารไทย ร้านอาหารกวางตุ้ง และภัตตาคารหรือโรงแรมหรูต่างๆ รวมทั้งนิยมใช้เป็นของขวัญหรือของฝากในเทศกาลสาคัญด้วยอย่างไรก็ตาม ช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาข้าวหอมมะลิไทยที่ขายในตลาดจีน ต้องประสบปัญหาข้าวหอมมะลิปลอมปนกับข้าวชนิดอื่น แต่กลับถูกเรียกเหมารวมว่าเป็น ข้าวหอมไทย (ไท่กั๋วเซียงหมี่) ในปี พ.ศ.2555 จีนได้หันไปซื้อข้าวหอมจากเวียดนามและกัมพูชาเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากข้าวหอมที่ผลิตในประเทศทั้งสองมีคุณภาพสูงขึ้น ขณะที่ราคาต่ากว่าราคาข้าวหอมมะลิของไทยมาก ปัจจุบัน ประเทศเพื่อนบ้านของไทยทั้งเวียดนาม กัมพูชา และพม่า สามารถผลิตข้าวหอมเพื่อส่งออกมากขึ้น เพราะประเทศเหล่านี้ได้มีการพัฒนาการปลูกข้าวหอมมากขึ้น หลังจากประเทศผ่านพ้นช่วงของสงครามและมีความมั่นคงทางการเมืองมากขึ้น ทาให้ประเทศเพื่อนบ้านกลายเป็นคู่แข่งขันสาคัญที่น่ากลัวยิ่งสาหรับข้าวหอมมะลิไทยในตลาดจีน因此,茉莉花大米,泰国很可能会受到来自周边国家的竞争和更多。由泰国目前饭变成了稻田,一个来自柬埔寨和越南代表泰国茉莉香米,泰国送。他们还发现在 Java 策略权限边界上空水稻实际使用依靠福利从戴米,是这里的问题和质量茉莉花米泰国在中国的市场,只要它有。2.类型销往中国市场,泰国的大米。消息从 wotphlitphan 一袋的大米在浴池中所有 116 项发现中国名单 20 公司及出口商的那些 26 公司。 可以 Java 奈克。水稻包项类型是 4。表 1: 在泰国大米中国市场中键入朝鲜文汉字。品牌类别列表。1.茉莉花米或使用过的产品称为泰国米。5283。2.水稻柬埔寨3。3。3.稻米是中国香稻泰国潜在的竞争对手。15。24。4.身份名称媒体大米泰国(但不是涉及泰国大米)5。6 共 75 116来源: 研究员สาหรับราคาขายของข้าวไทยในตลาดจีนจากการสารวจ พบว่า ข้าวหอมทั่วไป เช่น ข้าวหอมปทุมจะมีราคาขายเฉลี่ยประมาณ 60-70 หยวนต่อ 5 กิโลกรัม ข้าวหอมมะลิไทยแท้จะขายราคาเฉลี่ยประมาณ 80-100 หยวนต่อ 5 กิโลกรัม ส่วนข้าวหอมกัมพูชาจะมีราคาถูกกว่าเล็กน้อย ซึ่งย่อมดึงดูดใจให้ลูกค้ากลุ่มที่อ่อนไหวต่อราคาสินค้า หันไปลิ้มลอง虽然中国竞争对手大米有很多的成绩大米泰国较便宜的价格超过一半或相同级别或比大米,甚至更贵一些品牌比泰国和泰国更贵。在一些 hangklap,其中卖得好,那肯定表明,现代汉语中的消费者。注重质量客户的满意是大于价格。ส่วนกลุ่มที่เลียนแบบชื่อที่สื่อความเป็นไทยนั้น โดยเฉลี่ยแล้วจะมีราคาถูกว่าข้าวไทยแท้เกือบครึ่งหนึ่ง ลักษณะเช่นนี้ สะท้อนให้เห็นว่า ข้าวไทยเป็นข้าวที่ได้รับความนิยมและยอมรับจากผู้บริโภคจีนอย่างสูง จนถึงขนาดที่มีผู้ผลิตข้าวจีนต้องอาศัยชื่อเสียงหรืออัตลักษณ์ความเป็นไทยมาเป็นจุดขาย อย่างไรก็ตาม ด้วยความใกล้เคียงของชื่อ ย่อมจะส่งผลให้ผู้บริโภคจีนบางกลุ่มเกิดความเข้าใจผิดต่อรสชาติข้าวไทยที่แท้จริง3. พฤติกรรมผู้บริโภคจีนจากการสารวจตลาดจีนร่วมกับการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามผู้บริโภคจีนในเมืองหูหนัน เฉิงตู กว่างโจว และเซี่ยงไฮ้ สามารถสรุปทัศนดติและพฤติกรรมผู้บริโภคจีนต่อข้าวไทย ได้ดังนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วไม่สามารถจาแนกข้าวถุงที่บรรจุจากประเทศไทย หรือ Original Pack (รหัสบาร์โค๊ตขึ้นต้นด้วย 885) กับแบบ Repack (รหัสบาร์โค๊ตขึ้นต้นด้วย 692) ที่บรรจุใหม่ในประเทศจีนได้ ผู้บริโภคจีนให้ความสนใจหรือจดจาตราสินค้ามากกว่ามาตรฐานรับรองคุณภาพสินค้า ที่สาคัญชาวจีนส่วนใหญ่เข้าใจว่าข้าวหอมไทย (ไท่กั๋วเซียงหมี่) คือ ข้าวหอมมะลิ (ไท่กั๋วม่อลี่เซียงหมี่) เมื่อซื้อข้าวหอมธรรมดาไปบริโภค จึงรู้สึกว่าข้าวหอมมะลิไทยไม่หอมหรือไม่อร่อยเหมือนที่ร่าลือ จนสุดท้ายนาไปสู่การแสวงหาผลิตภัณฑ์ข้าวหอมประเภทอื่นแทน ซึ่งปัจจุบัน มีข้าวหอมคู่แข่งทั้งที่เป็นพันธุ์ข้าวหอมของจีนเอง เช่น เต้าฮวาเซียง หรือข้าวหอมจากกัมพูชา ฯลฯ4.拟议的新类别,泰国大米稻田产品对中国市场。大米出口国泰国所有项目可以都添加到新模型,香米作为替代中国的消费者,一个新的时代就像项目更即外来品种O 半食品"形象从茉莉花米那塔纳。准备在各种制冷吃 o 菜单 + 泰国大米等产品。O 香米,泰国为种类繁多的菜肴如泰国香米新塔尻汤姆。香米击退老炒饭等。O 健康、 香米、 糙米、 大米、 水稻、 草药,9 9 nopkao 颜色。O 茉莉花饭,小包装,如 500 克、 1 或 2 公斤吸引另一种选择。
Being translated, please wait..
Results (Chinese) 2:[Copy]
Copied!
图1:出口大米到中国,泰国新年的数量2546年至2556年来源:资料由农业经济,产品标准局办公室调查人员编制,可锐的大米出口国泰国的意愿。泰国显示,水稻在中国市场。大约有一半的饭。这种独特的产品是高品质特殊(外来)在中国市场的新闻在中国的三个主要领域,包括:(1)本县南部的广东和福建受欢迎。流行的长粒米如泰国(2)大都市具有很高的繁荣。如上海和北京 由于谁从中国南部迁移民的体现。新加坡,香港,台湾及海外中国,西方(3)新的蓬勃发展的城市。几乎中国所有的省份,如重庆,成都长沙市昆明市,温州,宁波,青岛,大连等总体来看,泰国大米在这些组中如此受欢迎。和高收入的口味也被消耗在饮食及酒店业。尤其是餐厅泰国 粤菜餐厅 和餐馆或豪华酒店 包括用作礼品或纪念品在重大节日有超过二十年,然而,泰国大米销售在中国市场。奋斗与大米,香米和其他污染物。他被称为属于泰国大米(郭襄太岁)在今年2555中国已转向购买大米来自越南和柬埔寨的大幅增加。因为水稻中产生两个质量更高。虽然价格比大米泰国价格低是目前泰国,越南,柬埔寨和缅甸的邻国可能会产生更多的稻米出口。因为这些国家已经制定了点饭。战争,一个国家在一段时期的政治稳定之后。邻居成为了一个主要的竞争对手甚至对泰国大米在中国市场望而生畏,所以。茉莉香米,泰国可能会受到来自周边国家的竞争更加激烈。结果发现,有粮食贸易商泰国头号转向进口来自柬埔寨和越南的大米出口大米为泰国。调查还发现了用粮穿的权利,通过边境。水稻认捐政策的居民。这对于在中国市场的信誉,优质的泰国大米有问题,只要他们是开放的第二个。赖斯泰国在中国市场销售,从一个随机调查产品的大米包装袋在中国销售,全部116出口20强企业和进口商26家企业的名单中可以划分米袋了四次。主要类型表1:在中国市场上销售的各类泰国大米各类产品:1,大米或大米名为泰国52 83 2。高棉水稻3 3 3。赖斯中国当作潜在的对手泰国大米15 24 4。赖斯命名媒体身份泰国(但不是饭泰国完全相关)5 6合计75 116资料来源:研究水稻泰国在中国市场上的价格,调查发现,大米等。巴吞他尼香米将每5千克大米泰国正品的售价为平均每5公斤大米约80-100元60-70元的平均售价柬埔寨有稍微便宜一些。这将吸引谁是对价格敏感的客户。打开品尝中国的大米对手,还有好几个档次。便宜的大米比泰国。或者具有相同的水平 甚至比大米,泰国更昂贵。有的品牌比泰国更贵。一些店内返回畅销的产品。这将表明,现代中国消费者 重视质量,价格满意,模仿一个描述性的名称,如泰国的组。平均而言,它一直不错,近一半的泰国大米。看起来是这样的:反思 泰国大米是大米已经流行,深受中国消费者的高度认可。在某种程度上,中国的粮食生产必须依靠信誉泰国或身份为卖点,但是,与它靠近的名字。中国消费者将不可避免地导致对泰国大米的真正的味道有些误解3。中国居民消费行为的调查,中国市场与数据收集调查问卷给中国的消费者在城市胡楠,成都,广州和上海可以直观的拉美裔和消费行为在中国的大米,泰国。因为在大多数情况下不能进行分类,从泰国或原装包(代码条码起始885)与重新包装(代码条码开始692),新包装在中国的袋装米。中国消费者关注,或识别品牌的产品质量标准。重要的是,大多数中国人明白,水稻泰国。(郭襄太岁)是水稻(国大帽山李响SUI)购买大米普通消费者的时候。赖斯认为,泰国没有味道像发霉洋葱或谣言。最后,对收购其他类型的香米,香米,目前有两个竞争对手是中国人自己的香米品种,如乳房或从柬埔寨祥华大米等4.介绍新型产品大米泰国。另 中国市场上的大米出口国泰国将能增加水稻新类型。作为替代,以现代中国的消费者。表现得像一个 像更奇特的产品,如O与大米半成品食品O操作。即食食品如大米,泰国的各种冷冻O操作。泰国大米的菜肴,如大米粥新的地方画。水稻是最好的应用老炒饭等Ø健康,如糙米,大米红宝石,水稻,药材九九颜色Ø大米小包装如500克或1公斤,2克。克至上诉的决定,AET。





































Being translated, please wait..
Results (Chinese) 3:[Copy]
Copied!
图片:泰国茉莉香米出口量第1 2003 - 2013年来源:中国研究
从编译数据线处,农业经济产品标准办公室,泰国大米出口商可以尖锐的

可以看出,在中国市场为泰国大米大约一半的米饭高质量的产品,独特的异国情调的(特别是在中国市场的3水稻面积主要包括:(1)南部县等。消费者喜欢长粒大米的人2大都市的繁荣(等高)
上海和北京。由于中国人的移民是来自南台湾的华侨,新加坡,香港和西方城市繁荣3(新)。几乎所有的中国城市,如重庆市县长沙市、昆明、温州、青岛,大连等。ลิไท盛行。香稻和高品位的收入阶层。此外,在餐馆和酒店的消费群体粤菜酒楼、餐厅和各种豪华酒店常用的礼物或纪念品,包括重要的节日
然而,在过去的几十年2泰国香米在中国市场销售.米饭米饭面临另一种掺假。说,被称为泰国香米(MEE)年国泰乡中国香稻2555转而购买大量增加从越南和柬埔寨。由于这两个国家的水稻生产的高质量。泰国香米的价格,而价格低于目前的许多邻国越南缅甸生产和出口更多大米因为这些国家已经发展水稻种植更加芬芳。在过去的战争和国内政治稳定,更因此,泰国香米的竞争的影响,从而得到更多的邻居。此外,操作权限边界穿用大米利用“稻米政策这是著名的泰国香米质量问题。在中国市场,只要有这样的通道开放
2。泰国大米在中国市场的销售和分配物质的产品
米袋子,这都会在中国上市公司116发现20出口商名录进入公司,从那26大米袋分类大类:4了



泰国大米第1表:这会在中国市场的品牌项目
1。产品类型或香米。泰国香米是52


2 83。

3香稻3
3柬埔寨。潜在的对手中国大米,泰国香米15


4 24。泰国大米的位置名称(但不认同媒体有关


)5大米完全6研究包括116

75来源:为泰国大米的价格在中国市场发现,水稻香味物质有如百合香稻的平均销售价格每公斤约60-70元5真正的泰国香米的价格出售约80-100元每公斤的平均5这必然对商品价格敏感的客户转向享受
中国香稻在竞争升级泰国香米都便宜一半或者是在同一水平。泰国香米,甚至更贵。泰国,一些品牌贵在一些商场成为畅销商品。现代中国消费者的价格关注质量的满意度比
组和模拟媒体名。平均来说,便宜近一半,泰国大米这样的反映泰国大米大米最受欢迎和接受中国消费者高度然而,随着城市的名字。中国消费者将不可避免地导致一些误解了真正
泰国大米的味道中国消费者行为3
。从物质与中国市场和中国消费者问卷调查收集的数据หูหนัน成都城市上海和广州ดติ总结中国和泰国大米,消费者行为如下。原始码条码(或包)与Repack 885开头开头的代码692条码(),中国新包装注意到中国消费者从品牌或商品质量认证标准(一)向国泰国泰李湘米饭(MEE)日普通大米消费购买时觉得泰国香米香味或是拉不好的谣言目前,水稻在中国自己的竞争对手,如香稻品种湘涛华或柬埔寨等大米
4泰国大米。这类新产品到中国市场,
泰国大米出口商可以增加新的茉莉香米现代中国消费者的选择。的行为,如各种异国情调的商品更喜欢喜欢
食品半成品产品,工业漆产品从吃大米
O
泰国大米的冷冻食品o为泰国茉莉香米香米新菜单等多种功能,适合粥。适合老、茉莉香米炒饭等。
O等健康水稻糙米、大米草、胡椒9
9颜色大米小包装如O或1公斤,公斤,克2 500吸引ใจทด决定。
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: