“ควายไทย” เป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองไทยมาตั้งแต่อดีต มีความผูกพันกับวิถี translation - “ควายไทย” เป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองไทยมาตั้งแต่อดีต มีความผูกพันกับวิถี English how to say

“ควายไทย” เป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองไ

“ควายไทย” เป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองไทยมาตั้งแต่อดีต มีความผูกพันกับวิถีชีวิตของชาวนาไทยอย่างลึกซึ้งแน่นแฟ้น ควายไทยเป็นสัตว์ที่ใช้ประโยชน์ได้สารพัด เช่น ใช้เป็นแรงงานลากจูงรูปแบบ ตลอดจนใช้เป็นอาหารเพื่อบริโภค ควายไทยเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย ทนทานต่อโรคและแมลง และทนทานต่อสภาพแวดล้อมของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ด้วยวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่
ได้รุกคืบเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่างรวดเร็ว จึงเป็นเหตุทำให้การเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากควายไทยได้เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย จากการใช้ประโยชน์จากควายเพื่อลากจูง ทำนา สู่การใช้เครื่องจักรเข้ามาทดแทน จึงเป็นเหตุให้ทำให้ควายไทยถูกลดบทบาทความสำคัญลง เป็นลำดับ ส่งผลให้ทำให้วิธีการทำนาแบบวัฒนธรรมดั้งเดิมแทบจะเลือนหายไปจากพื้นที่ ดังนั้น
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรกรรม (ฟาร์ม) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ทั้งด้านสนับสนุนการผลิตบัณฑิต วิจัย และบริการวิชาการ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์และสืบสานการใช้ประโยชน์จากควายไทย จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เรื่อง “ศูนย์เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมการเลี้ยงและใช้งานจากควายไทยเพื่อการอนุรักษ์” ขึ้น เพื่อสืบสาน
การอนุรักษ์วิถีชาวนาอย่างยั่งยืน เพื่อประโยชน์แก่อนุชนคนรุ่นหลัง สืบไป
โครงการศูนย์เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมการเลี้ยงและการใช้งานจากควายไทยเพื่อการอนุรักษ์ จะไม่เป็นเพียงโครงการที่เมื่อสิ้นปีงบประมาณแล้วยุติการดำเนินโครงการตามปีงบประมาณ แต่จะเป็นโครงการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ที่จะสามารถเป็นศูนย์เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมการเลี้ยงและการใช้งานจากควายไทยเพื่อการอนุรักษ์ได้อย่างยั่งยืน อันจะเป็นแหล่งเรียนรู้แก่อนุชนคนรุ่นหลังตามที่มุ่งหวัง สืบไป

การอนุรักษ์ควายในสังคมไทย
จากการสำรวจข้อมูลจำนวนปศุสัตว์ในประเทศไทยประจำปี 2551 พบว่า มีเกษตรกรที่เลี้ยงควายจำนวนทั้งสิ้น 281,905 ราย มีควายทั้งสิ้น 1,359,807 ตัว แต่มีเกษตรกรใช้ควายในการทำนาเพียง 4,000 ราย และมีควายที่ไถนาเป็นเพียง 6,000 หรือคิดเป็นควายที่ไถนาเป็นเหลือเพียง 0.41% ของจำนวนประชากรควายทั้งหมด ควายไทยในปัจจุบันเปลี่ยนสถานะจากเพื่อนคู่คิดของชาวนามา กลายเป็นสินค้าอย่างหนึ่งที่ถูกเลี้ยงไว้เพื่อขายเข้าโรงฆ่าสัตว์ ไม่ได้เลี้ยงเอาไว้ใช้แรงงานอีกต่อไป
ทำให้ควายส่วนใหญ่ไถนาไม่เป็น ชาวนาเองก็ใช้ควายไถนาไม่เป็น ภาครัฐและเอกชนเริ่มมีการตื่นตัวในการอนุรักษ์ควายไทย และรื้อฟื้นภูมิปัญญาพื้นบ้านในการไถนามากขึ้น โดยมีการจัดตั้งโครงการสนับสนุนและส่งเสริมการอนุรักษ์ควายไทยในทุกภูมิภาค และมีการก่อตั้งโรงเรียนเพื่อสอนและเผยแพร่ภูมิปัญญาในการใช้ควายไถนา รวมไปถึงภูมิปัญญาอื่นๆที่เกี่ยวกับการทำนา จากการสนับสนุนของทั้งภาครัฐและเอกชน ทำให้เกิดโครงการเพื่อการอนุรักษ์ควายไทยและภูมิปัญญาในการใช้ควายไถนาเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำลง รวมทั้งสภาวะโลกร้อนที่ประชาชนทั่วโลกต่างพากันตื่นตัวหาวิธีการแก้ไข ล้วนแต่เป็นสาเหตุที่ช่วยผลักดันให้ชาวนาและเกษตรกรไทย
หันกลับมาสนใจศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิม การอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในเรื่องควายจึงมีแนวโน้มที่จะได้รับการสนับสนุนให้คงอยู่คู่กับสังคมไทยต่อไปในอนาคต
ความผูกพันด้านจิตใจของชาวนากับควายไทย ความสัมพันธ์ของควายกับคนในยุคก่อนพุทธกาล เป็นไปตามลักษณะลัทธิและความเชื่อที่ชาวนานับถืออยู่ เช่น การบนบานตาแฮก
ที่ถือว่าเป็นผีเฝ้าไร่นา ให้ช่วยคุ้มครองชาวนา ควาย และพืชผล หรือการทำพิธีเลี้ยงผีปู่ตา ซึ่งเป็น
ผีบรรพบุรุษประจำหมู่บ้าน ซึ่งความเชื่อเหล่านี้ เป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความพยายามตอบสนอง
ความผูกพันของชาวนาที่มีต่อธรรมชาติแวดล้อม ตามความเชื่อว่าสิ่งเหล่านี้มีอำนาจ มีจิตวิญญาณ
มีความศักดิ์สิทธิ์ และมีเจ้าของ การที่ชาวนาจะใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ต้องใช้อย่างยำเกรง และด้วยความเคารพ ควายซึ่งเป็นหนึ่งในธรรมชาติแวดล้อมดังกล่าวจึงได้รับการปฏิบัติอย่างดีด้วย ศาสนาพราหมณ์ได้เจริญรุ่งเรืองและแพร่หลายเข้ามาตอกย้ำความเคารพในธรรมชาติแวดล้อม ชาวนาจึงมีความเชื่อที่ฝังลึกมากขึ้น เช่น ชาวนาบางถิ่นเชื่อว่าควายเป็นสัตว์ของเทพเจ้า (พระอิศวร)
ซึ่งถูกส่งให้ลงมารับใช้มนุษย์ เมื่อมนุษย์ใช้งานเสร็จแล้วจึงต้องมีการทำบายศรีสู่ขวัญเพื่อขอขมาที่เคยดุด่าเฆี่ยนตี เมื่อศาสนาพราหมณ์เสื่อมลง ศาสนาพุทธได้เข้ามาแทนที่ และศาสนาพุทธไม่ได้ปฏิเสธความเชื่อพื้นบ้าน เนื่องมาจากศาสนาพุทธก็ตั้งอยู่ในพื้นฐานด้านจิตใจเช่นกัน แนวคำสอนของศาสนาพุทธหลายอย่างที่แสดงให้เห็นว่าได้พัฒนาการมาจากความเชื่อพื้นบ้านและศาสนพราหมณ์ เช่น เรื่องความกตัญญูกตเวที เรื่องเมตตากรุณา เรื่องบุญบาป เป็นต้น ความผูกพันระหว่างควายกับชาวนา
จึงยังไม่เปลี่ยนไป ด้วยพื้นฐานทางวัฒนธรรมเช่นนี้ ทำให้ควายเป็นสัตว์ที่มีความผูกพันด้านจิตใจอย่างแน่นแฟ้นกับชาวนา และควายก็มีส่วนในการสร้างสรรค์ภาวะจิตใจของชาวนาให้อ่อนโยน ไม่หยาบกระด้าง มีคุณธรรม เมตตาปรานี และกตัญญูกตเวที นอกจากนี้ เรื่องของควายมักเป็นอุทาหรณ์
ที่ชาวนาคนเฒ่าคนแก่นำมาอบรมสั่งสอนลูกหลานเสมอ เพื่อให้ลูกหลานได้สำนึกบุญคุณของควายและเป็นคนดี

ความสำคัญของควาย
ก.​เป็นแรงงาน นอกจากการใช้ควายเพื่อเตรียมดินเพาะปลูกและไถนาแล้ว
ยังสามารถใช้เป็นแรงงานขนส่งลากเข็นสัมภาระต่างๆ
ข.​เป็นทรัพย์สิน ควายเป็นทรัพย์สินที่เจ้าของสามารถแปลงเป็นทุนได้ด้วยการขายไป เหมือนที่เราเคยได้ยินกันว่า ขายควายส่งลูกเรียน ขายควายเพื่อเอาเงินมารักษาพยาบาล
เป็นต้น นอกจากนี้ ควายยังสามารถยกให้ลูกหลานเป็นมรดก และเป็นสินสอดทองหมั้นในการขอ
หญิงสาวแต่งงานอีกด้วย
ค.​เป็นอาหาร ด้วยปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของการเลี้ยงควายได้เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมเพื่อเป็นแรงงาน สู่การเลี้ยงในเชิงการค้า โดยควายจำนวนมากถูกฆ่าและชำแหละเพื่อเป็นอาหารของมนุษย์
ง.​ให้ปุ๋ย มูลควายเป็นปุ๋ยคอกชนิดหนึ่ง ควาย 1 ตัวสามารถให้ปุ๋ยได้ถึง 2-3 ตันต่อปี ปุ๋ยคอกช่วยทำนุบำรุงดิน อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ ช่วยให้ดินร่วนซุย อุ้มน้ำได้ดี ใช้ได้
ทุกฤดูกาล

การเตรียมควายเพื่อฝึกไถนา สิ่
5000/5000
From: Thai
To: English
Results (English) 1: [Copy]
Copied!
"Thai water buffalo" is a double-double, animal house in Thailand since the past. There is a contingent of Thai peasant way of life deep demonstrate. Thai water buffalo is a useful animal such goodies as a towing, labor, as well as serve as food to consume. The Thai animal feed is easy to Buffalo. Insect and disease resistance and environmental resistance of the Thai nation. However, modern technology and science.Get advance to influence daily life of humans quickly. It's a party, and to take advantage of the Thai water buffalo has changed according to the modern era. From Buffalo to take advantage of the incentive to drag the farming machinery used to come in as a substitute, it is why make Buffalo a vital role the Thai series. As a result, traditional farming methods to the original culture almost fade away from the area. ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรกรรม (ฟาร์ม) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ทั้งด้านสนับสนุนการผลิตบัณฑิต วิจัย และบริการวิชาการ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์และสืบสานการใช้ประโยชน์จากควายไทย จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เรื่อง “ศูนย์เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมการเลี้ยงและใช้งานจากควายไทยเพื่อการอนุรักษ์” ขึ้น เพื่อสืบสานการอนุรักษ์วิถีชาวนาอย่างยั่งยืน เพื่อประโยชน์แก่อนุชนคนรุ่นหลัง สืบไปLearning Centre project cultural upbringing and the Buffalo from the Thai conservation is not only the project at the end of the fiscal year, and then stop the project based on the fiscal year, but the project will continue to be a cultural learning center and breeding from the Thai water buffalo to sustainable conservation. Will be learned as part of the monument after the generation is intended? Successor to Conservation of Buffalo in Thai society.A survey of livestock in the country, Thai farmers found that the annual 2551 (2008) that feed all of Buffalo Buffalo, 1359807 have all 281905 but farmers use Buffalo for farming only 4000 entries and Plow that Buffalo is just 6000 or buffalo that plowing was only 0.41% of the population of all Buffalo. The current Thai Buffalo State transition from the companionship of Panama became one of the items that have been fed to sell into the abattoir. Do not raise the labor anymore. ทำให้ควายส่วนใหญ่ไถนาไม่เป็น ชาวนาเองก็ใช้ควายไถนาไม่เป็น ภาครัฐและเอกชนเริ่มมีการตื่นตัวในการอนุรักษ์ควายไทย และรื้อฟื้นภูมิปัญญาพื้นบ้านในการไถนามากขึ้น โดยมีการจัดตั้งโครงการสนับสนุนและส่งเสริมการอนุรักษ์ควายไทยในทุกภูมิภาค และมีการก่อตั้งโรงเรียนเพื่อสอนและเผยแพร่ภูมิปัญญาในการใช้ควายไถนา รวมไปถึงภูมิปัญญาอื่นๆที่เกี่ยวกับการทำนา จากการสนับสนุนของทั้งภาครัฐและเอกชน ทำให้เกิดโครงการเพื่อการอนุรักษ์ควายไทยและภูมิปัญญาในการใช้ควายไถนาเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำลง รวมทั้งสภาวะโลกร้อนที่ประชาชนทั่วโลกต่างพากันตื่นตัวหาวิธีการแก้ไข ล้วนแต่เป็นสาเหตุที่ช่วยผลักดันให้ชาวนาและเกษตรกรไทย หันกลับมาสนใจศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิม การอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในเรื่องควายจึงมีแนวโน้มที่จะได้รับการสนับสนุนให้คงอยู่คู่กับสังคมไทยต่อไปในอนาคตความผูกพันด้านจิตใจของชาวนากับควายไทย ความสัมพันธ์ของควายกับคนในยุคก่อนพุทธกาล เป็นไปตามลักษณะลัทธิและความเชื่อที่ชาวนานับถืออยู่ เช่น การบนบานตาแฮก ที่ถือว่าเป็นผีเฝ้าไร่นา ให้ช่วยคุ้มครองชาวนา ควาย และพืชผล หรือการทำพิธีเลี้ยงผีปู่ตา ซึ่งเป็นผีบรรพบุรุษประจำหมู่บ้าน ซึ่งความเชื่อเหล่านี้ เป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความพยายามตอบสนองความผูกพันของชาวนาที่มีต่อธรรมชาติแวดล้อม ตามความเชื่อว่าสิ่งเหล่านี้มีอำนาจ มีจิตวิญญาณ มีความศักดิ์สิทธิ์ และมีเจ้าของ การที่ชาวนาจะใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ต้องใช้อย่างยำเกรง และด้วยความเคารพ ควายซึ่งเป็นหนึ่งในธรรมชาติแวดล้อมดังกล่าวจึงได้รับการปฏิบัติอย่างดีด้วย ศาสนาพราหมณ์ได้เจริญรุ่งเรืองและแพร่หลายเข้ามาตอกย้ำความเคารพในธรรมชาติแวดล้อม ชาวนาจึงมีความเชื่อที่ฝังลึกมากขึ้น เช่น ชาวนาบางถิ่นเชื่อว่าควายเป็นสัตว์ของเทพเจ้า (พระอิศวร) ซึ่งถูกส่งให้ลงมารับใช้มนุษย์ เมื่อมนุษย์ใช้งานเสร็จแล้วจึงต้องมีการทำบายศรีสู่ขวัญเพื่อขอขมาที่เคยดุด่าเฆี่ยนตี เมื่อศาสนาพราหมณ์เสื่อมลง ศาสนาพุทธได้เข้ามาแทนที่ และศาสนาพุทธไม่ได้ปฏิเสธความเชื่อพื้นบ้าน เนื่องมาจากศาสนาพุทธก็ตั้งอยู่ในพื้นฐานด้านจิตใจเช่นกัน แนวคำสอนของศาสนาพุทธหลายอย่างที่แสดงให้เห็นว่าได้พัฒนาการมาจากความเชื่อพื้นบ้านและศาสนพราหมณ์ เช่น เรื่องความกตัญญูกตเวที เรื่องเมตตากรุณา เรื่องบุญบาป เป็นต้น ความผูกพันระหว่างควายกับชาวนาจึงยังไม่เปลี่ยนไป ด้วยพื้นฐานทางวัฒนธรรมเช่นนี้ ทำให้ควายเป็นสัตว์ที่มีความผูกพันด้านจิตใจอย่างแน่นแฟ้นกับชาวนา และควายก็มีส่วนในการสร้างสรรค์ภาวะจิตใจของชาวนาให้อ่อนโยน ไม่หยาบกระด้าง มีคุณธรรม เมตตาปรานี และกตัญญูกตเวที นอกจากนี้ เรื่องของควายมักเป็นอุทาหรณ์ที่ชาวนาคนเฒ่าคนแก่นำมาอบรมสั่งสอนลูกหลานเสมอ เพื่อให้ลูกหลานได้สำนึกบุญคุณของควายและเป็นคนดี ความสำคัญของควาย ก.​เป็นแรงงาน นอกจากการใช้ควายเพื่อเตรียมดินเพาะปลูกและไถนาแล้วยังสามารถใช้เป็นแรงงานขนส่งลากเข็นสัมภาระต่างๆ ข.​เป็นทรัพย์สิน ควายเป็นทรัพย์สินที่เจ้าของสามารถแปลงเป็นทุนได้ด้วยการขายไป เหมือนที่เราเคยได้ยินกันว่า ขายควายส่งลูกเรียน ขายควายเพื่อเอาเงินมารักษาพยาบาล
เป็นต้น นอกจากนี้ ควายยังสามารถยกให้ลูกหลานเป็นมรดก และเป็นสินสอดทองหมั้นในการขอ
หญิงสาวแต่งงานอีกด้วย
ค.​เป็นอาหาร ด้วยปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของการเลี้ยงควายได้เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมเพื่อเป็นแรงงาน สู่การเลี้ยงในเชิงการค้า โดยควายจำนวนมากถูกฆ่าและชำแหละเพื่อเป็นอาหารของมนุษย์
ง.​ให้ปุ๋ย มูลควายเป็นปุ๋ยคอกชนิดหนึ่ง ควาย 1 ตัวสามารถให้ปุ๋ยได้ถึง 2-3 ตันต่อปี ปุ๋ยคอกช่วยทำนุบำรุงดิน อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ ช่วยให้ดินร่วนซุย อุ้มน้ำได้ดี ใช้ได้
ทุกฤดูกาล

การเตรียมควายเพื่อฝึกไถนา สิ่
Being translated, please wait..
Results (English) 2:[Copy]
Copied!
“ควายไทย” เป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองไทยมาตั้งแต่อดีต มีความผูกพันกับวิถีชีวิตของชาวนาไทยอย่างลึกซึ้งแน่นแฟ้น ควายไทยเป็นสัตว์ที่ใช้ประโยชน์ได้สารพัด เช่น ใช้เป็นแรงงานลากจูงรูปแบบ ตลอดจนใช้เป็นอาหารเพื่อบริโภค ควายไทยเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย ทนทานต่อโรคและแมลง และทนทานต่อสภาพแวดล้อมของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ด้วยวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่
ได้รุกคืบเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่างรวดเร็ว จึงเป็นเหตุทำให้การเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากควายไทยได้เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย จากการใช้ประโยชน์จากควายเพื่อลากจูง ทำนา สู่การใช้เครื่องจักรเข้ามาทดแทน จึงเป็นเหตุให้ทำให้ควายไทยถูกลดบทบาทความสำคัญลง เป็นลำดับ ส่งผลให้ทำให้วิธีการทำนาแบบวัฒนธรรมดั้งเดิมแทบจะเลือนหายไปจากพื้นที่ ดังนั้น
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรกรรม (ฟาร์ม) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ทั้งด้านสนับสนุนการผลิตบัณฑิต วิจัย และบริการวิชาการ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์และสืบสานการใช้ประโยชน์จากควายไทย จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เรื่อง “ศูนย์เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมการเลี้ยงและใช้งานจากควายไทยเพื่อการอนุรักษ์” ขึ้น เพื่อสืบสาน
การอนุรักษ์วิถีชาวนาอย่างยั่งยืน เพื่อประโยชน์แก่อนุชนคนรุ่นหลัง สืบไป
โครงการศูนย์เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมการเลี้ยงและการใช้งานจากควายไทยเพื่อการอนุรักษ์ จะไม่เป็นเพียงโครงการที่เมื่อสิ้นปีงบประมาณแล้วยุติการดำเนินโครงการตามปีงบประมาณ แต่จะเป็นโครงการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ที่จะสามารถเป็นศูนย์เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมการเลี้ยงและการใช้งานจากควายไทยเพื่อการอนุรักษ์ได้อย่างยั่งยืน อันจะเป็นแหล่งเรียนรู้แก่อนุชนคนรุ่นหลังตามที่มุ่งหวัง สืบไป

การอนุรักษ์ควายในสังคมไทย
จากการสำรวจข้อมูลจำนวนปศุสัตว์ในประเทศไทยประจำปี 2551 พบว่า มีเกษตรกรที่เลี้ยงควายจำนวนทั้งสิ้น 281,905 ราย มีควายทั้งสิ้น 1,359,807 ตัว แต่มีเกษตรกรใช้ควายในการทำนาเพียง 4,000 ราย และมีควายที่ไถนาเป็นเพียง 6,000 หรือคิดเป็นควายที่ไถนาเป็นเหลือเพียง 0.41% ของจำนวนประชากรควายทั้งหมด ควายไทยในปัจจุบันเปลี่ยนสถานะจากเพื่อนคู่คิดของชาวนามา กลายเป็นสินค้าอย่างหนึ่งที่ถูกเลี้ยงไว้เพื่อขายเข้าโรงฆ่าสัตว์ ไม่ได้เลี้ยงเอาไว้ใช้แรงงานอีกต่อไป
ทำให้ควายส่วนใหญ่ไถนาไม่เป็น ชาวนาเองก็ใช้ควายไถนาไม่เป็น ภาครัฐและเอกชนเริ่มมีการตื่นตัวในการอนุรักษ์ควายไทย และรื้อฟื้นภูมิปัญญาพื้นบ้านในการไถนามากขึ้น โดยมีการจัดตั้งโครงการสนับสนุนและส่งเสริมการอนุรักษ์ควายไทยในทุกภูมิภาค และมีการก่อตั้งโรงเรียนเพื่อสอนและเผยแพร่ภูมิปัญญาในการใช้ควายไถนา รวมไปถึงภูมิปัญญาอื่นๆที่เกี่ยวกับการทำนา จากการสนับสนุนของทั้งภาครัฐและเอกชน ทำให้เกิดโครงการเพื่อการอนุรักษ์ควายไทยและภูมิปัญญาในการใช้ควายไถนาเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำลง รวมทั้งสภาวะโลกร้อนที่ประชาชนทั่วโลกต่างพากันตื่นตัวหาวิธีการแก้ไข ล้วนแต่เป็นสาเหตุที่ช่วยผลักดันให้ชาวนาและเกษตรกรไทย
หันกลับมาสนใจศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิม การอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในเรื่องควายจึงมีแนวโน้มที่จะได้รับการสนับสนุนให้คงอยู่คู่กับสังคมไทยต่อไปในอนาคต
ความผูกพันด้านจิตใจของชาวนากับควายไทย ความสัมพันธ์ของควายกับคนในยุคก่อนพุทธกาล เป็นไปตามลักษณะลัทธิและความเชื่อที่ชาวนานับถืออยู่ เช่น การบนบานตาแฮก
ที่ถือว่าเป็นผีเฝ้าไร่นา ให้ช่วยคุ้มครองชาวนา ควาย และพืชผล หรือการทำพิธีเลี้ยงผีปู่ตา ซึ่งเป็น
ผีบรรพบุรุษประจำหมู่บ้าน ซึ่งความเชื่อเหล่านี้ เป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความพยายามตอบสนอง
ความผูกพันของชาวนาที่มีต่อธรรมชาติแวดล้อม ตามความเชื่อว่าสิ่งเหล่านี้มีอำนาจ มีจิตวิญญาณ
มีความศักดิ์สิทธิ์ และมีเจ้าของ การที่ชาวนาจะใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ต้องใช้อย่างยำเกรง และด้วยความเคารพ ควายซึ่งเป็นหนึ่งในธรรมชาติแวดล้อมดังกล่าวจึงได้รับการปฏิบัติอย่างดีด้วย ศาสนาพราหมณ์ได้เจริญรุ่งเรืองและแพร่หลายเข้ามาตอกย้ำความเคารพในธรรมชาติแวดล้อม ชาวนาจึงมีความเชื่อที่ฝังลึกมากขึ้น เช่น ชาวนาบางถิ่นเชื่อว่าควายเป็นสัตว์ของเทพเจ้า (พระอิศวร)
ซึ่งถูกส่งให้ลงมารับใช้มนุษย์ เมื่อมนุษย์ใช้งานเสร็จแล้วจึงต้องมีการทำบายศรีสู่ขวัญเพื่อขอขมาที่เคยดุด่าเฆี่ยนตี เมื่อศาสนาพราหมณ์เสื่อมลง ศาสนาพุทธได้เข้ามาแทนที่ และศาสนาพุทธไม่ได้ปฏิเสธความเชื่อพื้นบ้าน เนื่องมาจากศาสนาพุทธก็ตั้งอยู่ในพื้นฐานด้านจิตใจเช่นกัน แนวคำสอนของศาสนาพุทธหลายอย่างที่แสดงให้เห็นว่าได้พัฒนาการมาจากความเชื่อพื้นบ้านและศาสนพราหมณ์ เช่น เรื่องความกตัญญูกตเวที เรื่องเมตตากรุณา เรื่องบุญบาป เป็นต้น ความผูกพันระหว่างควายกับชาวนา
จึงยังไม่เปลี่ยนไป ด้วยพื้นฐานทางวัฒนธรรมเช่นนี้ ทำให้ควายเป็นสัตว์ที่มีความผูกพันด้านจิตใจอย่างแน่นแฟ้นกับชาวนา และควายก็มีส่วนในการสร้างสรรค์ภาวะจิตใจของชาวนาให้อ่อนโยน ไม่หยาบกระด้าง มีคุณธรรม เมตตาปรานี และกตัญญูกตเวที นอกจากนี้ เรื่องของควายมักเป็นอุทาหรณ์
ที่ชาวนาคนเฒ่าคนแก่นำมาอบรมสั่งสอนลูกหลานเสมอ เพื่อให้ลูกหลานได้สำนึกบุญคุณของควายและเป็นคนดี

ความสำคัญของควาย
ก.​เป็นแรงงาน นอกจากการใช้ควายเพื่อเตรียมดินเพาะปลูกและไถนาแล้ว
ยังสามารถใช้เป็นแรงงานขนส่งลากเข็นสัมภาระต่างๆ
ข.​เป็นทรัพย์สิน ควายเป็นทรัพย์สินที่เจ้าของสามารถแปลงเป็นทุนได้ด้วยการขายไป เหมือนที่เราเคยได้ยินกันว่า ขายควายส่งลูกเรียน ขายควายเพื่อเอาเงินมารักษาพยาบาล
เป็นต้น นอกจากนี้ ควายยังสามารถยกให้ลูกหลานเป็นมรดก และเป็นสินสอดทองหมั้นในการขอ
หญิงสาวแต่งงานอีกด้วย
ค.​เป็นอาหาร ด้วยปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของการเลี้ยงควายได้เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมเพื่อเป็นแรงงาน สู่การเลี้ยงในเชิงการค้า โดยควายจำนวนมากถูกฆ่าและชำแหละเพื่อเป็นอาหารของมนุษย์
ง.​ให้ปุ๋ย มูลควายเป็นปุ๋ยคอกชนิดหนึ่ง ควาย 1 ตัวสามารถให้ปุ๋ยได้ถึง 2-3 ตันต่อปี ปุ๋ยคอกช่วยทำนุบำรุงดิน อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ ช่วยให้ดินร่วนซุย อุ้มน้ำได้ดี ใช้ได้
ทุกฤดูกาล

การเตรียมควายเพื่อฝึกไถนา สิ่
Being translated, please wait..
Results (English) 3:[Copy]
Copied!
"Buffalo" is the national animal of in the past. Have a relationship with the lifestyle of the peasant deeply stably. The buffalo are animals that use the goodies such as a towing labor form.The buffalo is the animal rearing easy, resistant to diseases and insects, and tolerance of environment. However, with modern science and technology
.Advances in influencing human life can quickly. It is the reason for raising and utilization of buffalo changed according to age. Based on the advantage of buffalo to tug farming.Why do the buffalo is reduced in important roles, respectively. Result to make farming methods traditional culture almost disappear from the area. So
.
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: ilovetranslation@live.com