ระบอบการเมืองการปกครอง1.ลักษณะการเมืองการปกครอง ประเทศต่างๆในโลกย่อมมี translation - ระบอบการเมืองการปกครอง1.ลักษณะการเมืองการปกครอง ประเทศต่างๆในโลกย่อมมี Indonesian how to say

ระบอบการเมืองการปกครอง1.ลักษณะการเม

ระบอบการเมืองการปกครอง

1.ลักษณะการเมืองการปกครอง

ประเทศต่างๆในโลกย่อมมีระบอบการเมืองการปกครองที่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศเชื่อว่าเหมาะสมและสอดคล้องกับความคิดความเชื่อ ประวัติศาสตร์ และสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ หากปรากฏว่าระบอบการเมืองการปกครองที่ใช้อยู่ในช่วงระยะเวลาหนึ่งไม่เหมาะสม หรือไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมต่างๆ ดังกล่าว ก็จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง พัฒนา หรือปฏิรูประบอบการเมืองการปกครองให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อประชาชนของประเทศมากที่สุด

ระบอบการเมืองการปกครองที่ประเทศต่างๆในโลกใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 2 ระบอบ คือ ระบอบประชาธิปไตยและระบอบเผด็จการ แต่ถ้าหากจะกล่าวเชิงเปรียบเทียบก็สามารถกล่าวได้ว่าประเทศต่างๆในโลกนี้ ส่วนใหญ่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย แต่ก็อาจมีในบางประเทศที่ปกครองด้วยระบอบเผด็จการ เช่น สหภาพพม่า เกาหลีเหนือ เป็นต้น

ระบอบการเมืองการปกครองทั้ง 2 ระบอบ มีรายละเอียดพอสังเขป ดังนี้

1.1 ระบอบประชาธิปไตย

การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยมีลักษณะเด่นอยู่ที่การแข่งขันเสรีระหว่างกลุ่มหรือพรรค

การเมืองต่างๆ เพื่อให้ได้รับความไว้วางใจจากประชาชนส่วนมากในประเทศให้เป็นรัฐบาลทำหน้าที่บริหารกิจการต่างๆ ของประเทศตามนโยบายที่กลุ่มหรือพรรคได้วางไว้ล่วงหน้า

1.หลักการของระบอบประชาธิปไตยที่สำคัญ มีดังนี้

1.อำนาจอธิปไตยหรืออำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นอำนาจที่มาจากปวงชนหรือที่เรียกกันว่า “อำนาจของรัฐ (state power)” โดยผู้ที่จะได้อำนาจปกครองจะต้องได้รับความยินยอมจากประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศ

2.ประชาชนมีสิทธิที่จะมอบอำนาจปกครองให้แก่ประชาชนด้วยกันเองโดยการออกเสียงเลือกตั้งประชาชนกลุ่มหนึ่ง ที่อาสาจะมาเป็นผู้บริหารประเทศแทนประชาชนส่วนใหญ่ ตามระยะเวลาและวิธีการที่ได้กำหนดไว้อย่างเป็นทางการ เช่น กำหนดไว้ว่าทุก 4 ปี จะต้องมีการเลือกตั้งผู้แทนของประชาชนพร้อมกันทั่วประเทศ เป็นต้น

3.รัฐบาลจะต้องเคารพสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน เช่น สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในชีวิต เสรีภาพในการพูด การเขียน การแสดงความคิดเห็น การรามกลุ่ม สิทธิในการสร้างครอบครัว เสรีภาพในการชุมนุม เป็นต้น

โดยรัฐบาลจะต้องไม่ละเมิดสิทธิดังกล่าวข้างต้น เว้นแต่เพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย เพื่อคุ้มครองประโยชน์ส่วนรวม เพื่อรักษาศีลธรรมอันดีงามของประชาชน หรือเพื่อสร้างสรรค์การเป็นธรรมแก่สังคมเท่านั้น

4.ประชาชนทุกคนมีสิทธิเสมอกันในการที่จะได้รับบริการทุกชนิดที่รัฐจัดให้แก่ประชาชน ฐานันดรหรือยศถาบรรดาศักดิ์ไม่ก่อให้เกิดอภิสิทธิ์หรือสิทธิพิเศษแก่บุคคลนั้นแต่อย่างใด

5.รัฐบาลถือกฎหมายและความเป็นธรรมมาเป็นบรรทัดฐานในการปกครอง และในการแก้ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ภายในประเทศโดยรัฐบาลจะต้องไม่ออกกฎหมายที่มีผลเป็นการลงโทษบุคคลย้อนหลัง

2.ระบอบประชาธิปไตย แบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ คือ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เช่น ไทย ญี่ปุ่น เป็นต้น และระบอบประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข เช่น สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย เป็นต้น

1.2 ระบอบเผด็จการ

การเมืองการปกครองระบอบเผด็จการมีลักษณะเด่นอยู่ที่การรวมอำนาจในทางการเมืองการปกครองไว้ที่บุคคลเพียงคนเดียว คณะเดียว หรือพวกเดียว โดยบุคคล คณะบุคคล หรือดังกล่าวสารถใช้อำนาจนั้นควบคุมบังคับประชาชนได้โดยเด็ดขาด หากประชาชนคนใดคัดค้านผู้นำหรือคณะผู้นำ ก็จะถูกลงโทษด้วยมาตรการต่างๆ

1.หลักการของระบอบเผด็จการ จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น อาจสรุปหลักการของระบอบเผด็จการพอสังเขปได้ ดังนี้

1.ผู้นำคนเดียว หรือคณะผู้นำของกองทัพ หรือพรรคการเมืองเพียงกลุ่มเดียว มีอำนาจสูงสุดในการปกครองและสามารถใช้อำนาจนั้นได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องฟังเสียงของคนส่วนใหญ่ในประเทศ

2.การรักษาความมั่นคงของผู้นำหรือคณะผู้นำสำคัญกว่าการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถจะวิพากษ์วิจารณ์การกระทำของผู้นำอย่างเปิดเผยได้

3.ผู้นำหรือคณะผู้นำสามารถที่จะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชีวิต หรือนานเท่าที่กลุ่มผู้ร่วมงานหรือกองทัพยังให้การสนับสนุน ประชาชนทั่วไปไม่มีสิทธิที่จะเปลี่ยนผู้นำได้

4.รัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญและรัฐสภา ไม่มีความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครองเหมือนในระบอบประชาธิปไตยกล่าวคือ รัฐธรรมนูญเป็นเพียงแค่รากฐานอำนาจของผู้นำหรือคณะผู้นำเท่านั้น

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนที่จัดขึ้นก็เพื่อให้ประชาชนออกเสียงเลือกตั้งผู้สมัครที่ผู้นำหรือคณะผู้นำส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้งเท่านั้น ในทำนองเดียวกันรัฐสภาก็จะประชุมกันปีละ 5-10 วัน เพื่อรับทราบและยืนยันให้ผู้นำหรือคณะผู้นำทำการปกครองต่อไปตามที่ผู้นำหรือคณะผู้นำเห็นสมควร

2.รูปแบบของระบอบเผด็จการ มี 3 แบบ คือ เผด็จการทหาร เผด็จการฟาสซิสต์ และเผด็จการคอมมิวนิสต์ สามารถจะอธิบายพอสังเขปได้ ดังนี้

2.1 ระบอบเผด็จการทหาร หมายถึง ระบอบเผด็จการที่คณะผู้นำฝ่ายทหารเป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการในการปกครองโดยตรงหรือโดยอ้อม (ผ่านทางพลเรือนที่พวกตนสนับสนุน) และมักจะใช้กฎอัยการศึกหรือรัฐธรรมนูญที่คณะของตนสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการปกครอง

โดยทั่วไปคณะผู้นำทหารมักอ้างว่าจะใช้อำนาจปกครองประเทศเป็นการชั่วคราว แต่หลังจากนั้นมักไม่ยอมคืนอำนาจกลับมาให้ประชาชนโดยง่าย แต่เมื่อเวลาผ่านไปกระแสความไม่พอใจในหมู่ประชาชนรวมกับแรงกดดันนานาชาติก็จะทำให้คณะผู้นำทางทหารกุมอำนาจการปกครองดังกล่าวไว้ไม่ได้ ในที่สุดจึงจำเป็นต้องคืนอำนาจให้
0/5000
From: -
To: -
Results (Indonesian) 1: [Copy]
Copied!
Pembagian politik1. politik karakteristik. Berbagai negara di dunia memiliki rezim politik negara, orang-orang percaya ini tepat dan konsisten dengan ide-ide, keyakinan, sejarah dan lingkungan, ekonomi, sosial dan budaya hak negara. Jika muncul bahwa rezim politik di satu periode tidak pantas atau tidak sesuai dengan lingkungan apapun, itu harus mengubah, memperbaiki atau reformasi rezim politik, tepat dan bermanfaat bagi warga negara yang paling. Pembagian politik bahwa berbagai negara di dunia saat ini memiliki dua rezim yang berbeda adalah rezim demokratis dan totaliter, tapi jika dapat dikatakan relatif mengatakan bahwa berbagai negara di dunia. Sebagian besar memiliki sebuah demokrasi, tapi ini mungkin tersedia di beberapa negara yang diperintah oleh rezim totaliter seperti Myanmar, Korea Utara, dll. Pembagian politik, rezim kedua memiliki rincian singkat. Sebagai berikut:1.1 demokrasi.Demokrasi politik ini ditandai oleh persaingan antara kelompok-kelompok, atau Partai Liberal.Kota, untuk mendapatkan kepercayaan dari warga di negara ini sebagai pemerintah bertindak sesuai dengan kebijakan yang negara berbagai kelompok bisnis atau pesta direncanakan terlebih dahulu. 1. prinsip-prinsip demokrasi yang penting adalah sebagai berikut: 1. kedaulatan atau kekuatan maksimum untuk memerintah negara ini sebagai kekuatan yang berasal dari masyarakat yang disebut "kekuasaan negara (kekuasaan negara)" oleh mereka yang memiliki kekuatan untuk memerlukan persetujuan dari mayoritas warga di negara. 2 warga negara mempunyai hak untuk mandat orangtua, warga negara bersama-sama dengan suara prachatnoklum satu. Para relawan menjadi negara daripada kebanyakan orang sesuai dengan jangka waktu dan metode didefinisikan, seperti menetapkan bahwa setiap 4 tahun, tidak harus dipilih wakil rakyat seluruh negeri, dll. 3. pemerintah harus menghormati hak-hak dasar dan kebebasan warga negara, seperti hak hak untuk hidup, kebebasan berbicara untuk menulis komentar. RAM kelompok hak untuk membuat sebuah keluarga, kebebasan perakitan, dll. Pemerintah harus melanggar hak yang disebutkan di atas, kecuali untuk keamanan nasional, untuk menjaga cakupan global untuk mempertahankan moral yang baik umum atau untuk menciptakan masyarakat yang adil hanya. 4. semua warga negara mempunyai hak untuk mengikat dalam untuk mendapatkan semua jenis layanan yang memberikan negara untuk warga negara. Versailles atau bangsawan adalah bukan hak istimewa atau hak-hak khusus berpose kepada orang-orang. 5.รัฐบาลถือกฎหมายและความเป็นธรรมมาเป็นบรรทัดฐานในการปกครอง และในการแก้ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ภายในประเทศโดยรัฐบาลจะต้องไม่ออกกฎหมายที่มีผลเป็นการลงโทษบุคคลย้อนหลัง 2.ระบอบประชาธิปไตย แบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ คือ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เช่น ไทย ญี่ปุ่น เป็นต้น และระบอบประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข เช่น สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย เป็นต้น 1.2 ระบอบเผด็จการ การเมืองการปกครองระบอบเผด็จการมีลักษณะเด่นอยู่ที่การรวมอำนาจในทางการเมืองการปกครองไว้ที่บุคคลเพียงคนเดียว คณะเดียว หรือพวกเดียว โดยบุคคล คณะบุคคล หรือดังกล่าวสารถใช้อำนาจนั้นควบคุมบังคับประชาชนได้โดยเด็ดขาด หากประชาชนคนใดคัดค้านผู้นำหรือคณะผู้นำ ก็จะถูกลงโทษด้วยมาตรการต่างๆ 1.หลักการของระบอบเผด็จการ จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น อาจสรุปหลักการของระบอบเผด็จการพอสังเขปได้ ดังนี้ 1.ผู้นำคนเดียว หรือคณะผู้นำของกองทัพ หรือพรรคการเมืองเพียงกลุ่มเดียว มีอำนาจสูงสุดในการปกครองและสามารถใช้อำนาจนั้นได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องฟังเสียงของคนส่วนใหญ่ในประเทศ 2.การรักษาความมั่นคงของผู้นำหรือคณะผู้นำสำคัญกว่าการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถจะวิพากษ์วิจารณ์การกระทำของผู้นำอย่างเปิดเผยได้ 3.ผู้นำหรือคณะผู้นำสามารถที่จะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชีวิต หรือนานเท่าที่กลุ่มผู้ร่วมงานหรือกองทัพยังให้การสนับสนุน ประชาชนทั่วไปไม่มีสิทธิที่จะเปลี่ยนผู้นำได้ 4.รัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญและรัฐสภา ไม่มีความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครองเหมือนในระบอบประชาธิปไตยกล่าวคือ รัฐธรรมนูญเป็นเพียงแค่รากฐานอำนาจของผู้นำหรือคณะผู้นำเท่านั้น การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนที่จัดขึ้นก็เพื่อให้ประชาชนออกเสียงเลือกตั้งผู้สมัครที่ผู้นำหรือคณะผู้นำส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้งเท่านั้น ในทำนองเดียวกันรัฐสภาก็จะประชุมกันปีละ 5-10 วัน เพื่อรับทราบและยืนยันให้ผู้นำหรือคณะผู้นำทำการปกครองต่อไปตามที่ผู้นำหรือคณะผู้นำเห็นสมควร 2.รูปแบบของระบอบเผด็จการ มี 3 แบบ คือ เผด็จการทหาร เผด็จการฟาสซิสต์ และเผด็จการคอมมิวนิสต์ สามารถจะอธิบายพอสังเขปได้ ดังนี้ 2.1 ระบอบเผด็จการทหาร หมายถึง ระบอบเผด็จการที่คณะผู้นำฝ่ายทหารเป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการในการปกครองโดยตรงหรือโดยอ้อม (ผ่านทางพลเรือนที่พวกตนสนับสนุน) และมักจะใช้กฎอัยการศึกหรือรัฐธรรมนูญที่คณะของตนสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการปกครองโดยทั่วไปคณะผู้นำทหารมักอ้างว่าจะใช้อำนาจปกครองประเทศเป็นการชั่วคราว แต่หลังจากนั้นมักไม่ยอมคืนอำนาจกลับมาให้ประชาชนโดยง่าย แต่เมื่อเวลาผ่านไปกระแสความไม่พอใจในหมู่ประชาชนรวมกับแรงกดดันนานาชาติก็จะทำให้คณะผู้นำทางทหารกุมอำนาจการปกครองดังกล่าวไว้ไม่ได้ ในที่สุดจึงจำเป็นต้องคืนอำนาจให้
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: