กฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยาภายหลังจากสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอ translation - กฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยาภายหลังจากสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอ English how to say

กฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยาภายหลังจากสม


กฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยา
ภายหลังจากสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ได้สร้างกรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองหลวงเมื่อ
ประมาณปี พ.ศ. 1893 และต่อมาพระเจ้าบรมราชาที่สอง ทรงตีนครธมซึ่งเป็นราชธานีของขอมได้ทรง
กวาดต้อนบรรดาพราหมณ์และขุนนางขอมจำนวนมากเข้ามาไว้ในกรุงศรีอยุธยา ทำให้ความคิดทางด้านการปกครองและวัฒนธรรมของขอมซึ่งเป็นแบบฮินดู ได้เข้ามามีอิทธิพลในสังคมไทยโดยเฉพาะแนวความคิดในลัทธิเทวราช กล่าวคือ พระเจ้าแผ่นดินเป็นเทพเจ้าแบ่งภาคลงมาเกิด จึงเริ่มมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระบบกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ
คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ สำหรับกฎหมายซึ่งถือเป็นแม่บทอันสำคัญก็คือ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ อันมีที่มาจากประเทศอินเดียตามความเชื่อในศาสนาฮินดู ไทยได้รับผ่านมาทางมอญซึ่งนับถือพุทธศาสนาเช่นเดียวกับไทย ในทางทฤษฎีแล้วคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชน โดยเปลี่ยนความสัมพันธ์แบบพ่อปกครองลูกมาเป็นพระเจ้าแผ่นดินปกครองไพร่ฟ้าประชาชนด้วยความยุติธรรม แนวทางที่สะท้อนมาจากคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ คือ หลักทศพิศราชธรรม ซึ่งเป็นกรอบของพระมหากษัตริย์ไทยที่ถือเป็นหลักการสูงสุดกว่าสิ่งใดเทียบได้กับหลักกฎหมายธรรมชาติตามแนวคิดของยุโรป
พระราชศาสตร์ ตามแนวพระธรรมศาสตร์ พระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้ให้และรักษาความ ยุติธรรม
มิใช่เป็นผู้สร้างกฎหมาย พระองค์จึงทรงวินิจฉัยเรื่องราวต่าง ๆ ไว้เป็นอันมากเกิดเป็น
พระราชศาสตร์ขึ้นมา ได้แก่ พระบรมราชวินิจฉัยในอรรถคดีโดยสอดคล้องกับ
พระธรรมศาสตร์ ส่วนเนื้อหาพระราชศาสตร์เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับกฎเกณฑ์แห่งการปฏิบัติ
ราชการ กฎมณเฑียรบาล กฎเกณฑ์เรื่องที่ดินและสถานภาพของบุคคลในสังคม กล่าวโดยสรุป
พระราชศาสตร์คือกฎเกณฑ์ที่พระเจ้าแผ่นดินสร้างขึ้นจากการวินิจฉัยอรรถคดีต่าง ๆ

กฎหมายอื่น ๆ ซึ่งพระเจ้าแผ่นดินตราขึ้นใช้บังคับในสมัยกรุงศรีอยุธยา กษัตริย์ตั้งแต่สมเด็จ
พระรามาธิบดีจนถึงสมเด็จพระเจ้าบรมโกษฐ์ ทรงตรากฎหมายขึ้นตามความจำเป็น เช่น
กฎหมายลักษณะอาญาหลวง กฎหมายลักษณะผัวเมีย กฎหมายลักษณะโจร กฎหมายลักษณะ
พยาน ฯลฯ กฎหมายเหล่านี้เรียกชื่อโดยรวม ๆ ว่า “พระราชกำหนดบทพระอัยการหรือ
พระราชกำหนดกฎหมาย”
0/5000
From: -
To: -
Results (English) 1: [Copy]
Copied!
Law of the Ayutthaya period.After King ramathibodi I (Chulalongkorn) is the capital of Ayutthaya was created when.About the year since 1893, and later the Prince as King, the second he hit the Khmer capital of Angkor Thom, which is.Herd among the aristocracy by the large number of Brahmin and into the period. Make the idea of governance and culture which has come to be a Hindu influence in society, particularly the concept of Thailand in the burgeoning dhevaraj. That is God's land, as the sector breakdown occurs, God started with Royal rights regime sombunnaya factors influence the legal system in the Ayutthaya period is.คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ สำหรับกฎหมายซึ่งถือเป็นแม่บทอันสำคัญก็คือ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ อันมีที่มาจากประเทศอินเดียตามความเชื่อในศาสนาฮินดู ไทยได้รับผ่านมาทางมอญซึ่งนับถือพุทธศาสนาเช่นเดียวกับไทย ในทางทฤษฎีแล้วคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชน โดยเปลี่ยนความสัมพันธ์แบบพ่อปกครองลูกมาเป็นพระเจ้าแผ่นดินปกครองไพร่ฟ้าประชาชนด้วยความยุติธรรม แนวทางที่สะท้อนมาจากคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ คือ หลักทศพิศราชธรรม ซึ่งเป็นกรอบของพระมหากษัตริย์ไทยที่ถือเป็นหลักการสูงสุดกว่าสิ่งใดเทียบได้กับหลักกฎหมายธรรมชาติตามแนวคิดของยุโรปพระราชศาสตร์ ตามแนวพระธรรมศาสตร์ พระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้ให้และรักษาความ ยุติธรรมมิใช่เป็นผู้สร้างกฎหมาย พระองค์จึงทรงวินิจฉัยเรื่องราวต่าง ๆ ไว้เป็นอันมากเกิดเป็นพระราชศาสตร์ขึ้นมา ได้แก่ พระบรมราชวินิจฉัยในอรรถคดีโดยสอดคล้องกับพระธรรมศาสตร์ ส่วนเนื้อหาพระราชศาสตร์เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับกฎเกณฑ์แห่งการปฏิบัติราชการ กฎมณเฑียรบาล กฎเกณฑ์เรื่องที่ดินและสถานภาพของบุคคลในสังคม กล่าวโดยสรุปพระราชศาสตร์คือกฎเกณฑ์ที่พระเจ้าแผ่นดินสร้างขึ้นจากการวินิจฉัยอรรถคดีต่าง ๆ กฎหมายอื่น ๆ ซึ่งพระเจ้าแผ่นดินตราขึ้นใช้บังคับในสมัยกรุงศรีอยุธยา กษัตริย์ตั้งแต่สมเด็จพระรามาธิบดีจนถึงสมเด็จพระเจ้าบรมโกษฐ์ ทรงตรากฎหมายขึ้นตามความจำเป็น เช่น
กฎหมายลักษณะอาญาหลวง กฎหมายลักษณะผัวเมีย กฎหมายลักษณะโจร กฎหมายลักษณะ
พยาน ฯลฯ กฎหมายเหล่านี้เรียกชื่อโดยรวม ๆ ว่า “พระราชกำหนดบทพระอัยการหรือ
พระราชกำหนดกฎหมาย”
Being translated, please wait..
Results (English) 3:[Copy]
Copied!


after the Ayutthaya period law of King Rama 1 (พระเจ้าอู่ทอง). The Ayutthaya capital when
for about a year. 1893 BC and later God King II. He hit the city, which is the city of the Khmer King
.Keep all the Brahmins and the nobles have many come in Ayutthaya. The idea of the rule of the Khmer culture which is a Hindu. To influence in society, especially in the ideological concept, that is, the RoyalThe government legal system of absolute monarchy factors influencing Sri Ayutthaya is
.The mathematicians. For the law, which is an important framework is the mathematicians. One comes from India belief in Hinduism. Thailand has been through which Buddhism as well as the Thai monBy transforming the relationship father parents you as king over citizen ด้วยความยุติธรรม. Guidelines reflect from the mathematicians, is primarily to snoop.The tranexamic acid along king, give mathematicians and maintain. Fair
not builders law. He judged the stories behind many a
.The tranexamic acid, including the diagnosis in debates according to
mathematicians. The content of the king's law is about the rules of practice
.Government, law, regulation and land status of the individual in society. In summary,
the tranexamic acid is the rules generated from the diagnosis of various debates

.
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: