การวิเคราะห์ผลกระทบของภาคการผลิตต่อระบบเศรษฐกิจทำได้โดยการมองการเชื่อม translation - การวิเคราะห์ผลกระทบของภาคการผลิตต่อระบบเศรษฐกิจทำได้โดยการมองการเชื่อม English how to say

การวิเคราะห์ผลกระทบของภาคการผลิตต่อ

การวิเคราะห์ผลกระทบของภาคการผลิตต่อระบบเศรษฐกิจทำได้โดยการมองการเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมผ่านซัพพลายและดีมานด์ของสินค้าขั้นกลาง ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบ แบบที่หนึ่ง คือ การเชื่อมโยงไปข้างหน้า (Forward linkage) เกิดขึ้นเมื่อสินค้าที่ผลิตโดยบริษัทข้ามชาติ (MNEs) ถูกใช้เป็นวัตถุดิบหรือปัจจัยการผลิตของผู้ผลิตไทย การเชื่อมโยงไปข้างหน้านี้มักเกิดขึ้นในกรณีที่มีการลงทุนในภาคการเกษตรและการผลิตสินค้าขั้นปฐมภูมิในอุตสาหกรรมต้นน้ำ เช่น เหล็ก โดยสินค้าที่ผลิตได้จะถูกนำไปใช้เป็นสินค้าขั้นกลางในอุตสาหกรรมต่อเนื่องของผู้ผลิตในประเทศ ซึ่งในประเทศไทยด้วยลักษณะของการลงทุนของบริษัทข้ามชาติที่มักเข้ามาในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนเพื่อส่งออก และการผลิต/ประกอบสินค้าขั้นสุดท้าย ทำให้ผลกระทบต่อุตสาหกรรมภายในประเทศผ่านการเชื่อมโยงไปข้างหน้าจึงอาจไม่เด่นชัดนักเมื่อเปรียบเทียบกับความเชื่อมโยงในรูปแบบต่อไป
ในการเชื่อมโยงรูปแบบที่สองซึ่งคือ ความเชื่อมโยงไปข้างหลัง (Backward linkage) เกิดขึ้นจากการที่ MNEs ใช้สินค้าขั้นกลางที่ผลิตโดยผู้ผลิตท้องถิ่น ทำให้ซัพพลายเออร์ในประเทศได้รับประโยชน์จากการลงทุนผลิตของ MNEs ตัวอย่างเช่น โครงสร้างของห่วงโซ่อุปทานในภาคการผลิตรถยนต์ในไทย ผู้ผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์เป็นบริษัทต่างชาติหรือร่วมทุนจำนวนประมาณ 23 บริษัท มีซัพพลายเออร์ที่ผลิตชิ้นส่วนและส่วนประกอบยานยนต์ใน tier ต่างๆ จำนวนกว่า 2,289 ราย โดยบริษัทไทยและบริษัทที่ไทยเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่มีสัดส่วนร้อยละ 53 ของจำนวนซัพพลายเออร์ใน tier-1 ทั้งหมด และที่เหลือเป็นเอสเอ็มอีที่อยู่ใน tier-2 และ 3 ลงไป
0/5000
From: -
To: -
Results (English) 1: [Copy]
Copied!
การวิเคราะห์ผลกระทบของภาคการผลิตต่อระบบเศรษฐกิจทำได้โดยการมองการเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมผ่านซัพพลายและดีมานด์ของสินค้าขั้นกลาง ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบ แบบที่หนึ่ง คือ การเชื่อมโยงไปข้างหน้า (Forward linkage) เกิดขึ้นเมื่อสินค้าที่ผลิตโดยบริษัทข้ามชาติ (MNEs) ถูกใช้เป็นวัตถุดิบหรือปัจจัยการผลิตของผู้ผลิตไทย การเชื่อมโยงไปข้างหน้านี้มักเกิดขึ้นในกรณีที่มีการลงทุนในภาคการเกษตรและการผลิตสินค้าขั้นปฐมภูมิในอุตสาหกรรมต้นน้ำ เช่น เหล็ก โดยสินค้าที่ผลิตได้จะถูกนำไปใช้เป็นสินค้าขั้นกลางในอุตสาหกรรมต่อเนื่องของผู้ผลิตในประเทศ ซึ่งในประเทศไทยด้วยลักษณะของการลงทุนของบริษัทข้ามชาติที่มักเข้ามาในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนเพื่อส่งออก และการผลิต/ประกอบสินค้าขั้นสุดท้าย ทำให้ผลกระทบต่อุตสาหกรรมภายในประเทศผ่านการเชื่อมโยงไปข้างหน้าจึงอาจไม่เด่นชัดนักเมื่อเปรียบเทียบกับความเชื่อมโยงในรูปแบบต่อไป ในการเชื่อมโยงรูปแบบที่สองซึ่งคือ ความเชื่อมโยงไปข้างหลัง (Backward linkage) เกิดขึ้นจากการที่ MNEs ใช้สินค้าขั้นกลางที่ผลิตโดยผู้ผลิตท้องถิ่น ทำให้ซัพพลายเออร์ในประเทศได้รับประโยชน์จากการลงทุนผลิตของ MNEs ตัวอย่างเช่น โครงสร้างของห่วงโซ่อุปทานในภาคการผลิตรถยนต์ในไทย ผู้ผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์เป็นบริษัทต่างชาติหรือร่วมทุนจำนวนประมาณ 23 บริษัท มีซัพพลายเออร์ที่ผลิตชิ้นส่วนและส่วนประกอบยานยนต์ใน tier ต่างๆ จำนวนกว่า 2,289 ราย โดยบริษัทไทยและบริษัทที่ไทยเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่มีสัดส่วนร้อยละ 53 ของจำนวนซัพพลายเออร์ใน tier-1 ทั้งหมด และที่เหลือเป็นเอสเอ็มอีที่อยู่ใน tier-2 และ 3 ลงไป
Being translated, please wait..
Results (English) 2:[Copy]
Copied!
การวิเคราะห์ผลกระทบของภาคการผลิตต่อระบบเศรษฐกิจทำได้โดยการมองการเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมผ่านซัพพลายและดีมานด์ของสินค้าขั้นกลาง ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบ แบบที่หนึ่ง คือ การเชื่อมโยงไปข้างหน้า (Forward linkage) เกิดขึ้นเมื่อสินค้าที่ผลิตโดยบริษัทข้ามชาติ (MNEs) ถูกใช้เป็นวัตถุดิบหรือปัจจัยการผลิตของผู้ผลิตไทย การเชื่อมโยงไปข้างหน้านี้มักเกิดขึ้นในกรณีที่มีการลงทุนในภาคการเกษตรและการผลิตสินค้าขั้นปฐมภูมิในอุตสาหกรรมต้นน้ำ เช่น เหล็ก โดยสินค้าที่ผลิตได้จะถูกนำไปใช้เป็นสินค้าขั้นกลางในอุตสาหกรรมต่อเนื่องของผู้ผลิตในประเทศ ซึ่งในประเทศไทยด้วยลักษณะของการลงทุนของบริษัทข้ามชาติที่มักเข้ามาในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนเพื่อส่งออก และการผลิต/ประกอบสินค้าขั้นสุดท้าย ทำให้ผลกระทบต่อุตสาหกรรมภายในประเทศผ่านการเชื่อมโยงไปข้างหน้าจึงอาจไม่เด่นชัดนักเมื่อเปรียบเทียบกับความเชื่อมโยงในรูปแบบต่อไป
ในการเชื่อมโยงรูปแบบที่สองซึ่งคือ ความเชื่อมโยงไปข้างหลัง (Backward linkage) เกิดขึ้นจากการที่ MNEs ใช้สินค้าขั้นกลางที่ผลิตโดยผู้ผลิตท้องถิ่น ทำให้ซัพพลายเออร์ในประเทศได้รับประโยชน์จากการลงทุนผลิตของ MNEs ตัวอย่างเช่น โครงสร้างของห่วงโซ่อุปทานในภาคการผลิตรถยนต์ในไทย ผู้ผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์เป็นบริษัทต่างชาติหรือร่วมทุนจำนวนประมาณ 23 บริษัท มีซัพพลายเออร์ที่ผลิตชิ้นส่วนและส่วนประกอบยานยนต์ใน tier ต่างๆ จำนวนกว่า 2,289 ราย โดยบริษัทไทยและบริษัทที่ไทยเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่มีสัดส่วนร้อยละ 53 ของจำนวนซัพพลายเออร์ใน tier-1 ทั้งหมด และที่เหลือเป็นเอสเอ็มอีที่อยู่ใน tier-2 และ 3 ลงไป
Being translated, please wait..
Results (English) 3:[Copy]
Copied!
Impact analysis of the manufacturing sector to the economy by looking at the link between the industry through the supplies and demand of intermediate goods. Which is divided into 2. One is the link forward (Forward linkage).(MNEs) was used as the raw material of the manufacturer or inputs). Link forward this often happens in case of investment in the agricultural sector and the production step in primary industry upstream, such as steel.Which in characteristics of investment of transnational companies often come in parts manufacturing industry to export. Manufacturing / assembly and final goods.In the link model, two of which is linked to backward (Backward linkage) arise from the MNEs use intermediate goods produced by local manufacturers Make suppliers in the country to benefit from the investment of MNEs.The structure of the supply chain in the automobile production in Thailand. Automobile and motorcycle manufacturers as a foreign company or joint venture company of about 23 The suppliers and parts manufacturing automotive components in various tier were over, 2289 cases by a Thai company and the company's major shareholders are in proportion 53 number of suppliers in Tier-1 all and left the bank in And tier-2 3 down.
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: