การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบSOTUS นั้นมีผลกระทบที่สำคัญอีกด้านหน translation - การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบSOTUS นั้นมีผลกระทบที่สำคัญอีกด้านหน English how to say

การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบS

การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบSOTUS นั้นมีผลกระทบที่สำคัญอีกด้านหนึ่งคือด้านจิตใจซึ่งมีทั้งผลกระทบที่ดีและผลกระทบที่ไม่ดีในกิจกรรมการรับน้อง สมสมร วงศ์รจิต(2538 : 138-149) ศึกษาผลดีต่อจิตใจของการรับน้องที่มีความรุนแรงโดยใช้ระบบSOTUSคือทำให้จิตใจเข้มแข็งและเกิดความอดทน สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์ ศึกษาปัญหาการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ การประชุมเชียร์โดยการบังคับให้น้องใหม่ไปฝึกซ้อมเพลงเชียร์เป็นเวลาครั้งละหลายชั่วโมงเป็นเวลาสี่ถึงหกสัปดาห์และมีกาลงโทษด้วยวิธีการต่างๆ และการปล้นหอ ทำให้นักศึกษาใหม่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิต โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิตอยู่แล้ว เมื่อต้องมาถูกว๊าก ถูกลงโทษ หรือถูกปล้นหอ ทำให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพจิตมากขึ้น บางคนทนต่อสภาพการประชุมเชียร์ด้วยวิธีการดังกล่าวไม่ไหว ต้องลาออกจากการเป็นนักศึกษาไปในการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ (ทบวงมหาวิทยาลัย.2543:5 – 6) ซึ่งที่ประชุมได้สรุปปัญหาของการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์พบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นจากตัวนักศึกษาใหม่คือไม่เห็นความสำคัญหรือประโยชน์ของการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจและบางคนเข้าร่วมกิจกรรมเพราะกลัวไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนและกลุ่มรุ่นพี่ไม่กล้าบอกปัญหาหรืออุปสรรคในการเข้าร่วมกิจกรรม จึงส่งผลให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ตลอดไป
(กัลยา นรสิงห์.2546:12; อ้างอิงจาก พรรพิมล นาคนาวา.2542:13) ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นมากมายจากการรับน้องใหม่ด้วยระบบโซตัส พบว่า นักศึกษาใหม่ที่ต้องจำนนต่อคำสั่งของรุ่นพี่ โดยไม่มีโอกาสได้คิดว่าเป็นความถูกต้องหรือชอบธรรมหรือไม่หรือแม้กระทั่งการรักษาสิทธิและเสรีภาพขอบตนเองในการเลือกที่จะไม่ปฏิบัติในสิ่งที่ตนไม่พึงประสงค์ซึ่งมิติสำคัญของวิถีประชาธิปไตย บูแคนัน และคณะ ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับการที่นักศึกษารุ่นพี่สั่งลงโทษหรือสั่งให้นักศึกษาใหม่ทำในสิ่งแปลกๆ แผลงๆ เรียกว่า hazing ทำให้นักศึกษาใหม่เกิดความอับอาย ความเจ็บปวดหรือความแค้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพจิตจากสถิตปรากฏว่าจากปี ค.ศ. 1971 – 1981
สมสมร วงศ์รจิต (2531) ศึกษาเรื่อง การประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนัก
ศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรด้านผลเสียของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ที่รุนแรงระหว่างนักศึกษาวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์และวิทยาเขตวังท่าพระมีความแตกต่างกันในเรื่องขาดความรับผิดชอบเมื่อเกิดเหตุร้าย นักศึกษาบางคนทนไม่ได้ต้องลงออกจากมหาวิทยาลัย
สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์.(2531:107-111) ศึกษาความคิดเห็นของนัก
ศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนิสิตเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลานครินทร์ พบว่านักศึกษาในมหาวิทยาลัยทั้งสี่แห่ง
นักศึกษาและผู้บริหารมีความคิดเห็นว่าการประชุมเชียร์และต้อนรับน้องใหม่ที่ไม่รุนแรงนั้น ก่อให้เกิดผลดีบาง
ประการคือทำให้น้องใหม่สนิทสนมกับรุ่นพี่ ทำให้น้องใหม่เกิดความอบอุ่น
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2542 : 80-94) ศึกษาทัศนคติของนักศึกษา
อาจารย์และผู้ปกครองเกี่ยวกับกิจกรรมรับน้องใหม่และกิจกรรมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
เชียงใหม่พบว่า น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่เต็มใจ แต่อยู่ในภาวะจำยอมเพราะน้องใหม่คิดว่า อาจารย์และมหาวิทยาลัยสนับสนุนรุ่นพี่ โดยรุ่นพี่ใช้เวลาของน้องใหม่มากเกินไป และทำให้นักศึกษาขาดสำนึกในการคัดค้านการปกครองแบบเผด็จการ คณาจารย์ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าการรับน้องที่ไม่เกี่ยวกับกิจกรรม
เชียร์ทำให้นักศึกษารู้จักกันและรักกันแต่การบังคับให้น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมเชียร์เป็นการละเมิด
สิทธิมนุษยชนมากที่สุด
อรพินทร์ ชูชม และคณะ (2542 : 31-35) ศึกษาผลกระทบของการจัดกิจกรรมรับน้อง
ใหม่และการประชุมเชียร์ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวิทยาเขตประสานมิตรและวิทยาเขต
องครักษ์ พบว่า ผลกระทบจากกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ด้านผลดีต่อนิสิตคือมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบต่อหมู่คณะ ส่วนผลกระทบด้านผลเสียต่อนิสิตคือ มีความกดดันจิตใจ และผู้ปกครองเป็นห่วงและวิตกกังวล ธนรัตน์ สอนสา (2531) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น สำเนาว์ ขจรศิลป์;และบุญเรียง ขจรศิลป์ (2531) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลา และสมสมร วงศ์จิต
(2533) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร งานวิจัย 3 เรื่องนี้มีผลการวิจัยที่สอดคล้องกันซึ่งสรุปได้ดังนี้คือ ผลดีของการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้จิตใจเข้มแข็ง ทำให้สนิทสนมกับเพื่อนมากขึ้น
ส่วนผลดีของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ในลักษณะที่ไม่มีความรุนแรง มีผลดีเพิ่มเติม คือ ทำให้เกิดความสนุกสนานอบอุ่น ผลเสียของการรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้เสียสุขภาพจิต เกิดอาการทางกายเนื่องมาจากความกดดันทางจิตใจ เกิดอาการวิตกกังวล
จนทำให้นักศึกษาที่ทนไม่ได้ต้องลาออกจากมมหาวิทยาลัยกลางคัน ทำให้เป็นคนก้าวร้าว เกิดความอับอาย ทำให้เป็นคนไม่มีเหตุผล เกิดความคับข้องใจ ทำให้ขาดอิสรภาพ
สุวิมล บุญจันทร์ (2547) ศึกษาความคิดเห็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีต่อการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ ปีการศึกษา 2546 พบว่า มีผลดีคือ เกิดความสนุกสนาน ฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง
ส่วนผลเสียของกิจกรรมรับน้องใหม่ คือ ขาดอิสรภาพ เสียสุขภาพจิต
ผลการศึกษาของตึกอุบัติเหตุและตึกฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีนครินทร์ฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี 2538-2540พบว่ามีนักศึกษา158 คนเป็นชาย 35 คน หญิง 123 คน เกิดโรคHVPERVENTILATION SYNDROME(อาการชักเกร็งทั่วร่างกายตัวแข็งหมือนหมดสติ หายใจหอบๆ) ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ทั้งนี้เกิดจากความกลัว ความวิตกกังวลต่อสิ่งที่ไม่รู้และทำท่าของนักศึกษารุ่นพี่
จากการสำรวจสอบถามผลกระทบของระบบSOTUSทางด้านจิตใจจากนักศึกษา
0/5000
From: -
To: -
Results (English) 1: [Copy]
Copied!
Apart from receiving events by using a system that has an important impact on SOTUS. one side is the soul which has both impact and effect on his picking activity. Rachit dynasty Cupid conspiracy (2538 (1995): 138-149) Study of good mind of his violent SOTUS system is to make it a strong mind and patience. Gen-art: nao and artistic merit: sort. Study on the problem of getting a new brother and cheering Conference. The meeting cheering by forcing new training sister song to cheer at a time over a period of several hours, for a period of four to six weeks and be punished in different ways, and Rob Hall. Make new students have mental health problems. Especially those with mental health problems already exist. When was wak be punished or been stripped the Chamber of Commerce. Cause more mental health problems Some people resistant to conditions of such a meeting is not cheering; To quit from being a student to get a new head of events and meetings to cheer (2543 (2000). University Bureau: 5-6), which the Conference had concluded the problem was the new head of events and cheer Conference found that the problems that arise from the new students is not the importance or benefits (b)Want to attend events. Did not attend voluntarily, and some people joined the activity, because fear is not recognized by a group of friends and brothers version of the Group did not dare tell the problems or obstacles in participating in activities. It resulted in a bad attitude towards his meeting and new activities are cheering for forever. (กัลยา นรสิงห์.2546:12; อ้างอิงจาก พรรพิมล นาคนาวา.2542:13) ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นมากมายจากการรับน้องใหม่ด้วยระบบโซตัส พบว่า นักศึกษาใหม่ที่ต้องจำนนต่อคำสั่งของรุ่นพี่ โดยไม่มีโอกาสได้คิดว่าเป็นความถูกต้องหรือชอบธรรมหรือไม่หรือแม้กระทั่งการรักษาสิทธิและเสรีภาพขอบตนเองในการเลือกที่จะไม่ปฏิบัติในสิ่งที่ตนไม่พึงประสงค์ซึ่งมิติสำคัญของวิถีประชาธิปไตย บูแคนัน และคณะ ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับการที่นักศึกษารุ่นพี่สั่งลงโทษหรือสั่งให้นักศึกษาใหม่ทำในสิ่งแปลกๆ แผลงๆ เรียกว่า hazing ทำให้นักศึกษาใหม่เกิดความอับอาย ความเจ็บปวดหรือความแค้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพจิตจากสถิตปรากฏว่าจากปี ค.ศ. 1971 – 1981สมสมร วงศ์รจิต (2531) ศึกษาเรื่อง การประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนัก
ศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรด้านผลเสียของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ที่รุนแรงระหว่างนักศึกษาวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์และวิทยาเขตวังท่าพระมีความแตกต่างกันในเรื่องขาดความรับผิดชอบเมื่อเกิดเหตุร้าย นักศึกษาบางคนทนไม่ได้ต้องลงออกจากมหาวิทยาลัย
สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์.(2531:107-111) ศึกษาความคิดเห็นของนัก
ศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนิสิตเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลานครินทร์ พบว่านักศึกษาในมหาวิทยาลัยทั้งสี่แห่ง
นักศึกษาและผู้บริหารมีความคิดเห็นว่าการประชุมเชียร์และต้อนรับน้องใหม่ที่ไม่รุนแรงนั้น ก่อให้เกิดผลดีบาง
ประการคือทำให้น้องใหม่สนิทสนมกับรุ่นพี่ ทำให้น้องใหม่เกิดความอบอุ่น
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2542 : 80-94) ศึกษาทัศนคติของนักศึกษา
อาจารย์และผู้ปกครองเกี่ยวกับกิจกรรมรับน้องใหม่และกิจกรรมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
เชียงใหม่พบว่า น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่เต็มใจ แต่อยู่ในภาวะจำยอมเพราะน้องใหม่คิดว่า อาจารย์และมหาวิทยาลัยสนับสนุนรุ่นพี่ โดยรุ่นพี่ใช้เวลาของน้องใหม่มากเกินไป และทำให้นักศึกษาขาดสำนึกในการคัดค้านการปกครองแบบเผด็จการ คณาจารย์ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าการรับน้องที่ไม่เกี่ยวกับกิจกรรม
เชียร์ทำให้นักศึกษารู้จักกันและรักกันแต่การบังคับให้น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมเชียร์เป็นการละเมิด
สิทธิมนุษยชนมากที่สุด
อรพินทร์ ชูชม และคณะ (2542 : 31-35) ศึกษาผลกระทบของการจัดกิจกรรมรับน้อง
ใหม่และการประชุมเชียร์ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวิทยาเขตประสานมิตรและวิทยาเขต
องครักษ์ พบว่า ผลกระทบจากกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ด้านผลดีต่อนิสิตคือมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบต่อหมู่คณะ ส่วนผลกระทบด้านผลเสียต่อนิสิตคือ มีความกดดันจิตใจ และผู้ปกครองเป็นห่วงและวิตกกังวล ธนรัตน์ สอนสา (2531) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น สำเนาว์ ขจรศิลป์;และบุญเรียง ขจรศิลป์ (2531) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลา และสมสมร วงศ์จิต
(2533) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร งานวิจัย 3 เรื่องนี้มีผลการวิจัยที่สอดคล้องกันซึ่งสรุปได้ดังนี้คือ ผลดีของการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้จิตใจเข้มแข็ง ทำให้สนิทสนมกับเพื่อนมากขึ้น
ส่วนผลดีของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ในลักษณะที่ไม่มีความรุนแรง มีผลดีเพิ่มเติม คือ ทำให้เกิดความสนุกสนานอบอุ่น ผลเสียของการรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้เสียสุขภาพจิต เกิดอาการทางกายเนื่องมาจากความกดดันทางจิตใจ เกิดอาการวิตกกังวล
จนทำให้นักศึกษาที่ทนไม่ได้ต้องลาออกจากมมหาวิทยาลัยกลางคัน ทำให้เป็นคนก้าวร้าว เกิดความอับอาย ทำให้เป็นคนไม่มีเหตุผล เกิดความคับข้องใจ ทำให้ขาดอิสรภาพ
สุวิมล บุญจันทร์ (2547) ศึกษาความคิดเห็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีต่อการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ ปีการศึกษา 2546 พบว่า มีผลดีคือ เกิดความสนุกสนาน ฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง
ส่วนผลเสียของกิจกรรมรับน้องใหม่ คือ ขาดอิสรภาพ เสียสุขภาพจิต
ผลการศึกษาของตึกอุบัติเหตุและตึกฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีนครินทร์ฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี 2538-2540พบว่ามีนักศึกษา158 คนเป็นชาย 35 คน หญิง 123 คน เกิดโรคHVPERVENTILATION SYNDROME(อาการชักเกร็งทั่วร่างกายตัวแข็งหมือนหมดสติ หายใจหอบๆ) ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ทั้งนี้เกิดจากความกลัว ความวิตกกังวลต่อสิ่งที่ไม่รู้และทำท่าของนักศึกษารุ่นพี่
จากการสำรวจสอบถามผลกระทบของระบบSOTUSทางด้านจิตใจจากนักศึกษา
Being translated, please wait..
Results (English) 2:[Copy]
Copied!
การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบSOTUS นั้นมีผลกระทบที่สำคัญอีกด้านหนึ่งคือด้านจิตใจซึ่งมีทั้งผลกระทบที่ดีและผลกระทบที่ไม่ดีในกิจกรรมการรับน้อง สมสมร วงศ์รจิต(2538 : 138-149) ศึกษาผลดีต่อจิตใจของการรับน้องที่มีความรุนแรงโดยใช้ระบบSOTUSคือทำให้จิตใจเข้มแข็งและเกิดความอดทน สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์ ศึกษาปัญหาการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ การประชุมเชียร์โดยการบังคับให้น้องใหม่ไปฝึกซ้อมเพลงเชียร์เป็นเวลาครั้งละหลายชั่วโมงเป็นเวลาสี่ถึงหกสัปดาห์และมีกาลงโทษด้วยวิธีการต่างๆ และการปล้นหอ ทำให้นักศึกษาใหม่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิต โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิตอยู่แล้ว เมื่อต้องมาถูกว๊าก ถูกลงโทษ หรือถูกปล้นหอ ทำให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพจิตมากขึ้น บางคนทนต่อสภาพการประชุมเชียร์ด้วยวิธีการดังกล่าวไม่ไหว ต้องลาออกจากการเป็นนักศึกษาไปในการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ (ทบวงมหาวิทยาลัย.2543:5 – 6) ซึ่งที่ประชุมได้สรุปปัญหาของการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์พบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นจากตัวนักศึกษาใหม่คือไม่เห็นความสำคัญหรือประโยชน์ของการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจและบางคนเข้าร่วมกิจกรรมเพราะกลัวไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนและกลุ่มรุ่นพี่ไม่กล้าบอกปัญหาหรืออุปสรรคในการเข้าร่วมกิจกรรม จึงส่งผลให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ตลอดไป
(กัลยา นรสิงห์.2546:12; อ้างอิงจาก พรรพิมล นาคนาวา.2542:13) ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นมากมายจากการรับน้องใหม่ด้วยระบบโซตัส พบว่า นักศึกษาใหม่ที่ต้องจำนนต่อคำสั่งของรุ่นพี่ โดยไม่มีโอกาสได้คิดว่าเป็นความถูกต้องหรือชอบธรรมหรือไม่หรือแม้กระทั่งการรักษาสิทธิและเสรีภาพขอบตนเองในการเลือกที่จะไม่ปฏิบัติในสิ่งที่ตนไม่พึงประสงค์ซึ่งมิติสำคัญของวิถีประชาธิปไตย บูแคนัน และคณะ ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับการที่นักศึกษารุ่นพี่สั่งลงโทษหรือสั่งให้นักศึกษาใหม่ทำในสิ่งแปลกๆ แผลงๆ เรียกว่า hazing ทำให้นักศึกษาใหม่เกิดความอับอาย ความเจ็บปวดหรือความแค้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพจิตจากสถิตปรากฏว่าจากปี ค.ศ. 1971 – 1981
สมสมร วงศ์รจิต (2531) ศึกษาเรื่อง การประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนัก
ศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรด้านผลเสียของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ที่รุนแรงระหว่างนักศึกษาวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์และวิทยาเขตวังท่าพระมีความแตกต่างกันในเรื่องขาดความรับผิดชอบเมื่อเกิดเหตุร้าย นักศึกษาบางคนทนไม่ได้ต้องลงออกจากมหาวิทยาลัย
สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์.(2531:107-111) ศึกษาความคิดเห็นของนัก
ศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนิสิตเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลานครินทร์ พบว่านักศึกษาในมหาวิทยาลัยทั้งสี่แห่ง
นักศึกษาและผู้บริหารมีความคิดเห็นว่าการประชุมเชียร์และต้อนรับน้องใหม่ที่ไม่รุนแรงนั้น ก่อให้เกิดผลดีบาง
ประการคือทำให้น้องใหม่สนิทสนมกับรุ่นพี่ ทำให้น้องใหม่เกิดความอบอุ่น
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2542 : 80-94) ศึกษาทัศนคติของนักศึกษา
อาจารย์และผู้ปกครองเกี่ยวกับกิจกรรมรับน้องใหม่และกิจกรรมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
เชียงใหม่พบว่า น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่เต็มใจ แต่อยู่ในภาวะจำยอมเพราะน้องใหม่คิดว่า อาจารย์และมหาวิทยาลัยสนับสนุนรุ่นพี่ โดยรุ่นพี่ใช้เวลาของน้องใหม่มากเกินไป และทำให้นักศึกษาขาดสำนึกในการคัดค้านการปกครองแบบเผด็จการ คณาจารย์ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าการรับน้องที่ไม่เกี่ยวกับกิจกรรม
เชียร์ทำให้นักศึกษารู้จักกันและรักกันแต่การบังคับให้น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมเชียร์เป็นการละเมิด
สิทธิมนุษยชนมากที่สุด
อรพินทร์ ชูชม และคณะ (2542 : 31-35) ศึกษาผลกระทบของการจัดกิจกรรมรับน้อง
ใหม่และการประชุมเชียร์ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวิทยาเขตประสานมิตรและวิทยาเขต
องครักษ์ พบว่า ผลกระทบจากกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ด้านผลดีต่อนิสิตคือมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบต่อหมู่คณะ ส่วนผลกระทบด้านผลเสียต่อนิสิตคือ มีความกดดันจิตใจ และผู้ปกครองเป็นห่วงและวิตกกังวล ธนรัตน์ สอนสา (2531) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น สำเนาว์ ขจรศิลป์;และบุญเรียง ขจรศิลป์ (2531) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลา และสมสมร วงศ์จิต
(2533) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร งานวิจัย 3 เรื่องนี้มีผลการวิจัยที่สอดคล้องกันซึ่งสรุปได้ดังนี้คือ ผลดีของการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้จิตใจเข้มแข็ง ทำให้สนิทสนมกับเพื่อนมากขึ้น
ส่วนผลดีของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ในลักษณะที่ไม่มีความรุนแรง มีผลดีเพิ่มเติม คือ ทำให้เกิดความสนุกสนานอบอุ่น ผลเสียของการรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้เสียสุขภาพจิต เกิดอาการทางกายเนื่องมาจากความกดดันทางจิตใจ เกิดอาการวิตกกังวล
จนทำให้นักศึกษาที่ทนไม่ได้ต้องลาออกจากมมหาวิทยาลัยกลางคัน ทำให้เป็นคนก้าวร้าว เกิดความอับอาย ทำให้เป็นคนไม่มีเหตุผล เกิดความคับข้องใจ ทำให้ขาดอิสรภาพ
สุวิมล บุญจันทร์ (2547) ศึกษาความคิดเห็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีต่อการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ ปีการศึกษา 2546 พบว่า มีผลดีคือ เกิดความสนุกสนาน ฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง
ส่วนผลเสียของกิจกรรมรับน้องใหม่ คือ ขาดอิสรภาพ เสียสุขภาพจิต
ผลการศึกษาของตึกอุบัติเหตุและตึกฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีนครินทร์ฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี 2538-2540พบว่ามีนักศึกษา158 คนเป็นชาย 35 คน หญิง 123 คน เกิดโรคHVPERVENTILATION SYNDROME(อาการชักเกร็งทั่วร่างกายตัวแข็งหมือนหมดสติ หายใจหอบๆ) ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ทั้งนี้เกิดจากความกลัว ความวิตกกังวลต่อสิ่งที่ไม่รู้และทำท่าของนักศึกษารุ่นพี่
จากการสำรวจสอบถามผลกระทบของระบบSOTUSทางด้านจิตใจจากนักศึกษา
Being translated, please wait..
Results (English) 3:[Copy]
Copied!
The new activities using the system SOTUS. It have important consequences on the other is the mind which has both a great impact and the effect is good on Callisto is a memento, family activities (2538: telepathy138-149) to study the good mind of Callisto with the violence using the system SOTUS is a strong mind and patience. Kajornsin And the chanbanchong study problems and an initiation meeting me.And rob hall, new students have mental health problems. Especially those with mental health problems. When must be Waugh punished or be stripped นหอ lead to mental health problems.To resign from a student to the new activities and meeting support (the Ministry of university affairs.2543:5 - 6) which would have concluded the problems of organizing the new activities and meeting support found. The problem of new students is not important or the benefits of participation in activities.This resulted in a bad attitude towards new activities and meeting support forever!(kalaya Narasimha. 2546: 12; based in the future. 2542: Ark.13) study was a lot from an initiation system, SOTUS found that new students to surrender to the command of the senior.Buchanan and faculty, research about the older students punishment or ordered new students do a strange thing strangely. " Hazing make new student's shame, pain or anger.C.Professor 1971 - 1981
a memento family decorate (2531) study. The cheering and the welcoming of
.Study on the effects of silpakorn University welcoming and cheer meeting violence between students and campus the sanam Chan palace campus communities are different in ขาดความรับผิดชอบ when misfortune.
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: