การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบSOTUS นั้นมีผลกระทบที่สำคัญอีกด้านหน translation - การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบSOTUS นั้นมีผลกระทบที่สำคัญอีกด้านหน Japanese how to say

การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบS

การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบSOTUS นั้นมีผลกระทบที่สำคัญอีกด้านหนึ่งคือด้านจิตใจซึ่งมีทั้งผลกระทบที่ดีและผลกระทบที่ไม่ดีในกิจกรรมการรับน้อง สมสมร วงศ์รจิต(2538 : 138-149) ศึกษาผลดีต่อจิตใจของการรับน้องที่มีความรุนแรงโดยใช้ระบบSOTUSคือทำให้จิตใจเข้มแข็งและเกิดความอดทน สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์ ศึกษาปัญหาการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ การประชุมเชียร์โดยการบังคับให้น้องใหม่ไปฝึกซ้อมเพลงเชียร์เป็นเวลาครั้งละหลายชั่วโมงเป็นเวลาสี่ถึงหกสัปดาห์และมีกาลงโทษด้วยวิธีการต่างๆ และการปล้นหอ ทำให้นักศึกษาใหม่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิต โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิตอยู่แล้ว เมื่อต้องมาถูกว๊าก ถูกลงโทษ หรือถูกปล้นหอ ทำให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพจิตมากขึ้น บางคนทนต่อสภาพการประชุมเชียร์ด้วยวิธีการดังกล่าวไม่ไหว ต้องลาออกจากการเป็นนักศึกษาไปในการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ (ทบวงมหาวิทยาลัย.2543:5 – 6) ซึ่งที่ประชุมได้สรุปปัญหาของการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์พบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นจากตัวนักศึกษาใหม่คือไม่เห็นความสำคัญหรือประโยชน์ของการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจและบางคนเข้าร่วมกิจกรรมเพราะกลัวไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนและกลุ่มรุ่นพี่ไม่กล้าบอกปัญหาหรืออุปสรรคในการเข้าร่วมกิจกรรม จึงส่งผลให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ตลอดไป
(กัลยา นรสิงห์.2546:12; อ้างอิงจาก พรรพิมล นาคนาวา.2542:13) ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นมากมายจากการรับน้องใหม่ด้วยระบบโซตัส พบว่า นักศึกษาใหม่ที่ต้องจำนนต่อคำสั่งของรุ่นพี่ โดยไม่มีโอกาสได้คิดว่าเป็นความถูกต้องหรือชอบธรรมหรือไม่หรือแม้กระทั่งการรักษาสิทธิและเสรีภาพขอบตนเองในการเลือกที่จะไม่ปฏิบัติในสิ่งที่ตนไม่พึงประสงค์ซึ่งมิติสำคัญของวิถีประชาธิปไตย บูแคนัน และคณะ ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับการที่นักศึกษารุ่นพี่สั่งลงโทษหรือสั่งให้นักศึกษาใหม่ทำในสิ่งแปลกๆ แผลงๆ เรียกว่า hazing ทำให้นักศึกษาใหม่เกิดความอับอาย ความเจ็บปวดหรือความแค้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพจิตจากสถิตปรากฏว่าจากปี ค.ศ. 1971 – 1981
สมสมร วงศ์รจิต (2531) ศึกษาเรื่อง การประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนัก
ศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรด้านผลเสียของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ที่รุนแรงระหว่างนักศึกษาวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์และวิทยาเขตวังท่าพระมีความแตกต่างกันในเรื่องขาดความรับผิดชอบเมื่อเกิดเหตุร้าย นักศึกษาบางคนทนไม่ได้ต้องลงออกจากมหาวิทยาลัย
สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์.(2531:107-111) ศึกษาความคิดเห็นของนัก
ศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนิสิตเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลานครินทร์ พบว่านักศึกษาในมหาวิทยาลัยทั้งสี่แห่ง
นักศึกษาและผู้บริหารมีความคิดเห็นว่าการประชุมเชียร์และต้อนรับน้องใหม่ที่ไม่รุนแรงนั้น ก่อให้เกิดผลดีบาง
ประการคือทำให้น้องใหม่สนิทสนมกับรุ่นพี่ ทำให้น้องใหม่เกิดความอบอุ่น
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2542 : 80-94) ศึกษาทัศนคติของนักศึกษา
อาจารย์และผู้ปกครองเกี่ยวกับกิจกรรมรับน้องใหม่และกิจกรรมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
เชียงใหม่พบว่า น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่เต็มใจ แต่อยู่ในภาวะจำยอมเพราะน้องใหม่คิดว่า อาจารย์และมหาวิทยาลัยสนับสนุนรุ่นพี่ โดยรุ่นพี่ใช้เวลาของน้องใหม่มากเกินไป และทำให้นักศึกษาขาดสำนึกในการคัดค้านการปกครองแบบเผด็จการ คณาจารย์ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าการรับน้องที่ไม่เกี่ยวกับกิจกรรม
เชียร์ทำให้นักศึกษารู้จักกันและรักกันแต่การบังคับให้น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมเชียร์เป็นการละเมิด
สิทธิมนุษยชนมากที่สุด
อรพินทร์ ชูชม และคณะ (2542 : 31-35) ศึกษาผลกระทบของการจัดกิจกรรมรับน้อง
ใหม่และการประชุมเชียร์ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวิทยาเขตประสานมิตรและวิทยาเขต
องครักษ์ พบว่า ผลกระทบจากกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ด้านผลดีต่อนิสิตคือมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบต่อหมู่คณะ ส่วนผลกระทบด้านผลเสียต่อนิสิตคือ มีความกดดันจิตใจ และผู้ปกครองเป็นห่วงและวิตกกังวล ธนรัตน์ สอนสา (2531) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น สำเนาว์ ขจรศิลป์;และบุญเรียง ขจรศิลป์ (2531) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลา และสมสมร วงศ์จิต
(2533) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร งานวิจัย 3 เรื่องนี้มีผลการวิจัยที่สอดคล้องกันซึ่งสรุปได้ดังนี้คือ ผลดีของการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้จิตใจเข้มแข็ง ทำให้สนิทสนมกับเพื่อนมากขึ้น
ส่วนผลดีของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ในลักษณะที่ไม่มีความรุนแรง มีผลดีเพิ่มเติม คือ ทำให้เกิดความสนุกสนานอบอุ่น ผลเสียของการรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้เสียสุขภาพจิต เกิดอาการทางกายเนื่องมาจากความกดดันทางจิตใจ เกิดอาการวิตกกังวล
จนทำให้นักศึกษาที่ทนไม่ได้ต้องลาออกจากมมหาวิทยาลัยกลางคัน ทำให้เป็นคนก้าวร้าว เกิดความอับอาย ทำให้เป็นคนไม่มีเหตุผล เกิดความคับข้องใจ ทำให้ขาดอิสรภาพ
สุวิมล บุญจันทร์ (2547) ศึกษาความคิดเห็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีต่อการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ ปีการศึกษา 2546 พบว่า มีผลดีคือ เกิดความสนุกสนาน ฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง
ส่วนผลเสียของกิจกรรมรับน้องใหม่ คือ ขาดอิสรภาพ เสียสุขภาพจิต
ผลการศึกษาของตึกอุบัติเหตุและตึกฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีนครินทร์ฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี 2538-2540พบว่ามีนักศึกษา158 คนเป็นชาย 35 คน หญิง 123 คน เกิดโรคHVPERVENTILATION SYNDROME(อาการชักเกร็งทั่วร่างกายตัวแข็งหมือนหมดสติ หายใจหอบๆ) ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ทั้งนี้เกิดจากความกลัว ความวิตกกังวลต่อสิ่งที่ไม่รู้และทำท่าของนักศึกษารุ่นพี่
จากการสำรวจสอบถามผลกระทบของระบบSOTUSทางด้านจิตใจจากนักศึกษา
0/5000
From: -
To: -
Results (Japanese) 1: [Copy]
Copied!
SOTUS。 1 つの側面に重要な影響を及ぼすシステムを用いて受信イベントから離れて衝撃と彼の狩りの活動に及ぼす影響を持っている魂です。Rachit 王朝キューピッド陰謀 (2538年 (1995 年): 138-149)彼の暴力的な SOTUS システムの良い心の研究は強い心と忍耐です。ジェン-アート: ナオと芸術的価値: 並べ替え。新しい兄弟を取得し、会議に応援の問題について考察する.強制的に新しいトレーニング姉妹で応援会議を一度に 4 ~ 6 週間の期間のためのいくつかの時間の期間にわたって応援し、さまざまな方法とロブ ホールで処罰される歌。新入生の精神健康上の問題があること。精神的な健康上の問題との特にそれらは既に存在します。罰またはされて wak の頃の商工を剥奪します。多くの精神的な健康問題を引き起こすそのような条件に耐性いくつかの人々 の会議は応援していない;イベントや応援する会議の新しいヘッドを取得する学生であることを終了する (2543年 (2000 年). 大学事務局: 5-6)、新入生から発生する問題も重要性または (b) の利点を発見して、会議を持っていたと結論づけた問題イベントや応援会議の新しいヘッドをイベントに参加したいです。自発的に出席しなかったし、何人かの人々 が参加、恐怖は友人のグループによって認識されないグループの兄弟バージョンはあえて言わなかった問題や障害物の活動に参加するため。彼の会議の悪い態度で起因し、永遠に新しい活動を応援しています。(Kalaya ナラシンハ 2546 (2003 年): 12;。参照ポルノ raphimon 13: 2542年 (1999 年) 名和ナガ。)新入生高齢者のコマンドに慣れるイータスが分るので彼の新しいシステムから多くの問題について考察する.それは、正しいと思う機会がなくて合法的かどうか、またはそれらのエッジの権利および民主主義の重要な手段ですがディメンションで実行しないことを選択する自由を維持するためにも。Bukhaenan と基板高齢者学生順序制裁について研究を行っているまたは注文新しいは学生にどのような奇妙な phlaeng 新入生いじめと呼ばれる、屈辱。痛みと復讐、1971年から精神的健康に危険を引き起こす可能性がありますが表示されます勢いよく 1951年-1981 年から。สมสมร วงศ์รจิต (2531) ศึกษาเรื่อง การประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรด้านผลเสียของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ที่รุนแรงระหว่างนักศึกษาวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์และวิทยาเขตวังท่าพระมีความแตกต่างกันในเรื่องขาดความรับผิดชอบเมื่อเกิดเหตุร้าย นักศึกษาบางคนทนไม่ได้ต้องลงออกจากมหาวิทยาลัย สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์.(2531:107-111) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนิสิตเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลานครินทร์ พบว่านักศึกษาในมหาวิทยาลัยทั้งสี่แห่งนักศึกษาและผู้บริหารมีความคิดเห็นว่าการประชุมเชียร์และต้อนรับน้องใหม่ที่ไม่รุนแรงนั้น ก่อให้เกิดผลดีบางประการคือทำให้น้องใหม่สนิทสนมกับรุ่นพี่ ทำให้น้องใหม่เกิดความอบอุ่นสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2542 : 80-94) ศึกษาทัศนคติของนักศึกษาอาจารย์และผู้ปกครองเกี่ยวกับกิจกรรมรับน้องใหม่และกิจกรรมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่พบว่า น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่เต็มใจ แต่อยู่ในภาวะจำยอมเพราะน้องใหม่คิดว่า อาจารย์และมหาวิทยาลัยสนับสนุนรุ่นพี่ โดยรุ่นพี่ใช้เวลาของน้องใหม่มากเกินไป และทำให้นักศึกษาขาดสำนึกในการคัดค้านการปกครองแบบเผด็จการ คณาจารย์ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าการรับน้องที่ไม่เกี่ยวกับกิจกรรมเชียร์ทำให้นักศึกษารู้จักกันและรักกันแต่การบังคับให้น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมเชียร์เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนมากที่สุดอรพินทร์ ชูชม และคณะ (2542 : 31-35) ศึกษาผลกระทบของการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวิทยาเขตประสานมิตรและวิทยาเขตองครักษ์ พบว่า ผลกระทบจากกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ด้านผลดีต่อนิสิตคือมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบต่อหมู่คณะ ส่วนผลกระทบด้านผลเสียต่อนิสิตคือ มีความกดดันจิตใจ และผู้ปกครองเป็นห่วงและวิตกกังวล ธนรัตน์ สอนสา (2531) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น สำเนาว์ ขจรศิลป์;และบุญเรียง ขจรศิลป์ (2531) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลา และสมสมร วงศ์จิต
(2533) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร งานวิจัย 3 เรื่องนี้มีผลการวิจัยที่สอดคล้องกันซึ่งสรุปได้ดังนี้คือ ผลดีของการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้จิตใจเข้มแข็ง ทำให้สนิทสนมกับเพื่อนมากขึ้น
ส่วนผลดีของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ในลักษณะที่ไม่มีความรุนแรง มีผลดีเพิ่มเติม คือ ทำให้เกิดความสนุกสนานอบอุ่น ผลเสียของการรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้เสียสุขภาพจิต เกิดอาการทางกายเนื่องมาจากความกดดันทางจิตใจ เกิดอาการวิตกกังวล
จนทำให้นักศึกษาที่ทนไม่ได้ต้องลาออกจากมมหาวิทยาลัยกลางคัน ทำให้เป็นคนก้าวร้าว เกิดความอับอาย ทำให้เป็นคนไม่มีเหตุผล เกิดความคับข้องใจ ทำให้ขาดอิสรภาพ
สุวิมล บุญจันทร์ (2547) ศึกษาความคิดเห็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีต่อการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ ปีการศึกษา 2546 พบว่า มีผลดีคือ เกิดความสนุกสนาน ฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง
ส่วนผลเสียของกิจกรรมรับน้องใหม่ คือ ขาดอิสรภาพ เสียสุขภาพจิต
ผลการศึกษาของตึกอุบัติเหตุและตึกฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีนครินทร์ฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี 2538-2540พบว่ามีนักศึกษา158 คนเป็นชาย 35 คน หญิง 123 คน เกิดโรคHVPERVENTILATION SYNDROME(อาการชักเกร็งทั่วร่างกายตัวแข็งหมือนหมดสติ หายใจหอบๆ) ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ทั้งนี้เกิดจากความกลัว ความวิตกกังวลต่อสิ่งที่ไม่รู้และทำท่าของนักศึกษารุ่นพี่
จากการสำรวจสอบถามผลกระทบของระบบSOTUSทางด้านจิตใจจากนักศึกษา
Being translated, please wait..
Results (Japanese) 2:[Copy]
Copied!
การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่โดยใช้ระบบSOTUS นั้นมีผลกระทบที่สำคัญอีกด้านหนึ่งคือด้านจิตใจซึ่งมีทั้งผลกระทบที่ดีและผลกระทบที่ไม่ดีในกิจกรรมการรับน้อง สมสมร วงศ์รจิต(2538 : 138-149) ศึกษาผลดีต่อจิตใจของการรับน้องที่มีความรุนแรงโดยใช้ระบบSOTUSคือทำให้จิตใจเข้มแข็งและเกิดความอดทน สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์ ศึกษาปัญหาการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ การประชุมเชียร์โดยการบังคับให้น้องใหม่ไปฝึกซ้อมเพลงเชียร์เป็นเวลาครั้งละหลายชั่วโมงเป็นเวลาสี่ถึงหกสัปดาห์และมีกาลงโทษด้วยวิธีการต่างๆ และการปล้นหอ ทำให้นักศึกษาใหม่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิต โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิตอยู่แล้ว เมื่อต้องมาถูกว๊าก ถูกลงโทษ หรือถูกปล้นหอ ทำให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพจิตมากขึ้น บางคนทนต่อสภาพการประชุมเชียร์ด้วยวิธีการดังกล่าวไม่ไหว ต้องลาออกจากการเป็นนักศึกษาไปในการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ (ทบวงมหาวิทยาลัย.2543:5 – 6) ซึ่งที่ประชุมได้สรุปปัญหาของการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์พบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นจากตัวนักศึกษาใหม่คือไม่เห็นความสำคัญหรือประโยชน์ของการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจและบางคนเข้าร่วมกิจกรรมเพราะกลัวไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนและกลุ่มรุ่นพี่ไม่กล้าบอกปัญหาหรืออุปสรรคในการเข้าร่วมกิจกรรม จึงส่งผลให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ตลอดไป
(กัลยา นรสิงห์.2546:12; อ้างอิงจาก พรรพิมล นาคนาวา.2542:13) ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นมากมายจากการรับน้องใหม่ด้วยระบบโซตัส พบว่า นักศึกษาใหม่ที่ต้องจำนนต่อคำสั่งของรุ่นพี่ โดยไม่มีโอกาสได้คิดว่าเป็นความถูกต้องหรือชอบธรรมหรือไม่หรือแม้กระทั่งการรักษาสิทธิและเสรีภาพขอบตนเองในการเลือกที่จะไม่ปฏิบัติในสิ่งที่ตนไม่พึงประสงค์ซึ่งมิติสำคัญของวิถีประชาธิปไตย บูแคนัน และคณะ ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับการที่นักศึกษารุ่นพี่สั่งลงโทษหรือสั่งให้นักศึกษาใหม่ทำในสิ่งแปลกๆ แผลงๆ เรียกว่า hazing ทำให้นักศึกษาใหม่เกิดความอับอาย ความเจ็บปวดหรือความแค้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพจิตจากสถิตปรากฏว่าจากปี ค.ศ. 1971 – 1981
สมสมร วงศ์รจิต (2531) ศึกษาเรื่อง การประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนัก
ศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรด้านผลเสียของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ที่รุนแรงระหว่างนักศึกษาวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์และวิทยาเขตวังท่าพระมีความแตกต่างกันในเรื่องขาดความรับผิดชอบเมื่อเกิดเหตุร้าย นักศึกษาบางคนทนไม่ได้ต้องลงออกจากมหาวิทยาลัย
สำเนาว์ ขจรศิลป์ และบุญเรียง ขจรศิลป์.(2531:107-111) ศึกษาความคิดเห็นของนัก
ศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนิสิตเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลานครินทร์ พบว่านักศึกษาในมหาวิทยาลัยทั้งสี่แห่ง
นักศึกษาและผู้บริหารมีความคิดเห็นว่าการประชุมเชียร์และต้อนรับน้องใหม่ที่ไม่รุนแรงนั้น ก่อให้เกิดผลดีบาง
ประการคือทำให้น้องใหม่สนิทสนมกับรุ่นพี่ ทำให้น้องใหม่เกิดความอบอุ่น
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2542 : 80-94) ศึกษาทัศนคติของนักศึกษา
อาจารย์และผู้ปกครองเกี่ยวกับกิจกรรมรับน้องใหม่และกิจกรรมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
เชียงใหม่พบว่า น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่เต็มใจ แต่อยู่ในภาวะจำยอมเพราะน้องใหม่คิดว่า อาจารย์และมหาวิทยาลัยสนับสนุนรุ่นพี่ โดยรุ่นพี่ใช้เวลาของน้องใหม่มากเกินไป และทำให้นักศึกษาขาดสำนึกในการคัดค้านการปกครองแบบเผด็จการ คณาจารย์ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าการรับน้องที่ไม่เกี่ยวกับกิจกรรม
เชียร์ทำให้นักศึกษารู้จักกันและรักกันแต่การบังคับให้น้องใหม่เข้าร่วมกิจกรรมเชียร์เป็นการละเมิด
สิทธิมนุษยชนมากที่สุด
อรพินทร์ ชูชม และคณะ (2542 : 31-35) ศึกษาผลกระทบของการจัดกิจกรรมรับน้อง
ใหม่และการประชุมเชียร์ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวิทยาเขตประสานมิตรและวิทยาเขต
องครักษ์ พบว่า ผลกระทบจากกิจกรรมรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ด้านผลดีต่อนิสิตคือมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบต่อหมู่คณะ ส่วนผลกระทบด้านผลเสียต่อนิสิตคือ มีความกดดันจิตใจ และผู้ปกครองเป็นห่วงและวิตกกังวล ธนรัตน์ สอนสา (2531) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น สำเนาว์ ขจรศิลป์;และบุญเรียง ขจรศิลป์ (2531) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาและผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาเกี่ยวกับการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลา และสมสมร วงศ์จิต
(2533) ศึกษาการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์และการต้อนรับน้องใหม่ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร งานวิจัย 3 เรื่องนี้มีผลการวิจัยที่สอดคล้องกันซึ่งสรุปได้ดังนี้คือ ผลดีของการรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้จิตใจเข้มแข็ง ทำให้สนิทสนมกับเพื่อนมากขึ้น
ส่วนผลดีของการต้อนรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ในลักษณะที่ไม่มีความรุนแรง มีผลดีเพิ่มเติม คือ ทำให้เกิดความสนุกสนานอบอุ่น ผลเสียของการรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ ในลักษณะที่มีความรุนแรง คือ ทำให้เสียสุขภาพจิต เกิดอาการทางกายเนื่องมาจากความกดดันทางจิตใจ เกิดอาการวิตกกังวล
จนทำให้นักศึกษาที่ทนไม่ได้ต้องลาออกจากมมหาวิทยาลัยกลางคัน ทำให้เป็นคนก้าวร้าว เกิดความอับอาย ทำให้เป็นคนไม่มีเหตุผล เกิดความคับข้องใจ ทำให้ขาดอิสรภาพ
สุวิมล บุญจันทร์ (2547) ศึกษาความคิดเห็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีต่อการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ ปีการศึกษา 2546 พบว่า มีผลดีคือ เกิดความสนุกสนาน ฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง
ส่วนผลเสียของกิจกรรมรับน้องใหม่ คือ ขาดอิสรภาพ เสียสุขภาพจิต
ผลการศึกษาของตึกอุบัติเหตุและตึกฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีนครินทร์ฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี 2538-2540พบว่ามีนักศึกษา158 คนเป็นชาย 35 คน หญิง 123 คน เกิดโรคHVPERVENTILATION SYNDROME(อาการชักเกร็งทั่วร่างกายตัวแข็งหมือนหมดสติ หายใจหอบๆ) ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ทั้งนี้เกิดจากความกลัว ความวิตกกังวลต่อสิ่งที่ไม่รู้และทำท่าของนักศึกษารุ่นพี่
จากการสำรวจสอบถามผลกระทบของระบบSOTUSทางด้านจิตใจจากนักศึกษา
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: