ข้อมูลทั่วไปที่ตั้ง ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน translation - ข้อมูลทั่วไปที่ตั้ง ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน English how to say

ข้อมูลทั่วไปที่ตั้ง ตั้งอยู่ในเขตเส

ข้อมูลทั่วไป

ที่ตั้ง ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน คือ มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ประกอบด้วย 11 รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์และปะลิส มาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว (กาลิมันตัน) ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาห์และซาราวัก นอกจากนี้ ยังมีเขตการปกครองภายใต้สหพันธรัฐ อีก 3 เขต คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน

พื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร ( ประมาณ 64% ของไทย)

เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์

ประชากร 29.512 ล้านคน

ภาษาราชการ มาเลย์

ศาสนา อิสลาม (60%) พุทธ (19%) คริสต์ (12%)



การเมืองการปกครอง

ประมุข สมเด็จพระราชาธิบดี อัลมูตัสสิมู บิลลาฮี มูฮิบบุดดิน ตวนกู อัลฮัจญ์ อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ อิบินี อัลมาฮูม สุลต่าน บาดิชาห์ สมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 14 (His Majesty Almu’tasimu Billahi Muhibbuddin Tuanku Alhaj Abdul Halim Mu'adzam Shah ibini Almarhum Sultan Badlishah The Yang di-Pertuan Agong XIV of Malaysia)

ผู้นำรัฐบาล ดาโต๊ะ ซรี มูห์ฮัมหมัด นาจิบ บิน ตุน อับดุล ราซัค (Dato’ Sri Mohd Najib bin Tun Abdul Razak)

รัฐมนตรีต่างประเทศ ดาโต๊ะ ซรี อานิฟาห์ บิน ฮัจญี อามาน (Dato’ Sri Anifah bin Haji Aman)

ระบอบการปกครอง สหพันธรัฐ โดมีสมเด็จพระราชาธิบดี (Yang di-Pertuan Agong) เป็นประมุข ซึ่งมาจากการเลือกตั้งเจ้าผู้ปกครองรัฐ 9 แห่ง (ยะโฮร์ ตรังกานู ปะหัง สลังงอร์ เกดะห์ กลันตัน เนกรีเซมบิลัน เประและปะลิส) และผลัดเปลี่ยนหมุดเวียนกันขึ้นดำรงตำแหน่ง วาระละ 5 ปี โดมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลสหพันธรัฐ และมุขมนตรีแห่งรัฐ (Menteri Besar ในกรณีที่มีเจ้าผู้ปกครองรัฐ หรือ Chief Minister ในกรณีที่ไม่มีเจ้าผู้ปกครองรัฐ) เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งรัฐ

เขตการปกครอง มาเลเซียแบ่งเขตการปกครองเป็น 13 รัฐ ได้แก่ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์ ปะลิส ซาบาห์และซาราวัก และ 3 ดินแดนสหพันธ์ ได้แก่ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน

วันชาติ 31 สิงหาคม

วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย 31 สิงหาคม พ.ศ. 2500





เศรษฐกิจการค้า

หน่วยเงินตรา ริงกิต (1 ริงกิตประมาณ 10.17บาท สถานะ ก.พ.2556)

ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 307.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2555)

รายได้ประชาชาติต่อหัว 10,502 ดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2555)

การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 5.2 (ปี 2555)

สินค้านำเข้าสำคัญ ไฟฟ้าและอิเล็ก เครื่องจักรและอุกรณ์ เคมีภัณฑ์ น้ำมันสำเร็จรูป อุปกรณ์ด้านการขนส่ง

สินค้าส่งออกสำคัญ ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรทรอนิกส์ เครื่องจักรและอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์ อุปกรณ์ด้านการขนส่ง ผลิตภัณฑ์โลหะ
อนิกส์ น้ำมันปาล์ม เคมีภัณฑ์ ก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) น้ำมันดิบ



ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซีย

ความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทยกับมาเลเซีย

ภาพรวมความสัมพันธ์ทั่วไป

ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับมาเลเซียเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2500 และมีสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ คนปัจจุบันคือ นายกฤต ไกรจิตติ ซึ่งเดินทางไปรับหน้าที่เมื่อวันที่ 2 เดือนตุลาคม 2555 นอกจากนี้ ไทยยังมีสถานกงสุลใหญ่ในมาเลเซีย 2 แห่ง ได้แก่ (1) สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองปีนัง และ (2) สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารู สำหรับส่วนราชการและหน่วยงานต่าง ๆ ของไทย ซึ่งตั้งสำนักงานในมาเลเซียได้แก่ สำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารทั้งสามเหล่าทัพ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ สำนักงานแรงงาน และสำนักงานประสานงานตำรวจ สำนักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) มาเลเซีย

มาเลเซียมีสถานเอกอัครราชทูตมาเลเซียประจำประเทศไทย และเอกอัครราชทูตมาเลเซียประจำประเทศไทย ได้แก่ ดาโต๊ะ นาซีระห์ บินตี ฮุสซัยน์ ซึ่งเข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2554 และมีสถานกงสุลใหญ่มาเลเซียประจำจังหวัดสงขลา และกงสุญใหญ่มาเลเซียประจำจังหวัดสงขลา ได้แก่ นายไฟซัล แอต มุฮัมมัด ไฟซัล บิน ราซาลี ซึ่งเข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2555

ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซียแบ่งออกเป็น 2 ด้านหลัก ได้แก่ (1) การดำเนินความร่วมมือภายใต้กลไกต่าง ๆ ที่มีอยู่ อาทิ คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีระหว่างไทยกับมาเลเซีย (Joint Commission : JC) คณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับพื้นที่ชายแดน (Joint Development Strategy : JDS) คณะกรรมการด้านความมั่นคง ได้แก่ คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee : GBC) คณะกรรมการระดับสูง (High Level Committee : HLC) และคณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาค (Regional Border Committee : RBC) ซึ่งทั้ง 3 ระดับเป็นกรอบความร่วมมือของฝ่ายทหารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้านความมั่นคง และความร่วมมือชายแดน คณะกรรมการด้านความมั่นคงกรอบอื่น ๆ เฉพาะเรื่อง อาทิ คณะกรรมการร่วมด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และความร่วมมือในกรอบ Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle (IMT-GT) และอาเซียน และ (2) ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งประกอบด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงในพื้นที่ชายแดนร่วมกัน การร่วมกันพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ชายแดนของทั้งสองประเทศและการเสริมสร้างมาตรการสร้างความไว้วางใจ (Confidence Building Measures) บนพื้นฐานของกรอบ 3Es ได้แก่ การศึกษา (Education) การจ้างงาน (Employment) และการประกอบกิจการ (Entrepreneurship)

ความสัมพันธ์ด้านการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซียมีพลวัตร รวมทั้งตั้งอยู่บนผลประโยชน์ร่วมกัน โดยทั้งสองฝ่ายตระหนักถึงการมี “จุดมุ่งหมาย” ร่วมกัน โดยให้ความสำคัญกับการส่งเสริมความร่วมมือทวิภาคีเพื่อสนับสนุนความเชื่อมโยงในอาเซียนทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน การอำนวยความสะดวกด้านการเดินทางและความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน

ความสัมพันธ์ด้านความมั่นคง

กองทัพไทยกับมาเลเซียมีการฝึกทางทหารระหว่างกันเป็นประจำ ได้แก่ (1) LAND EX THAMAL ซึ่งเป็นการฝึกประจำปีเริ่มเมื่อปี 2536 (2) THALAY LAUT ซึ่งมีการฝึกครั้งแรกเมื่อปี 2523 จัดขึ้นทุก 2 ปี โดยไทยกับมาเลเซียสลับกันเป็นเจ้าภาพ (3) SEA EX THAMAL เริ่มเมื่อปี 2522 มีพื้นที่ฝึกบริเวณพื้นที่ปฏิบัติการร่วมชายแดนทางทะเลระหว่างไทย-มาเลเซียทั้งด้านอ่าวไทยและทะเลอันดามัน (4) AIR THAMAL เป็นการฝึกการปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธีตามบริเวณชายแดนไทย-มาเลเซีย ตั้งแต่ปี 2525 โดยทำการฝึกทุกปี ประกอบด้วยการฝึกภาคส
0/5000
From: -
To: -
Results (English) 1: [Copy]
Copied!
General informationLocation Located in the Equatorial zone consists of two sections, namely territory, West Malaysia. Located on the Malay Peninsula, consists of 11 States are Kuala Pahang salang ngo. Melaka Johor pre se, Jambi nekri LAN Kelantan and Terengganu-Penang gate da palit. East Malaysia Located on the island of Borneo (Kalimantan), consisting of 2 State of Sabah and Sarawak are. There are also administrative divisions under three federal territory Kuala Lumpur (capital city) is. City of Putrajaya and Labuan Island (City Government).Area of 329758 square kilometers (approximately 64% of Thailand).The capital city Kuala LumpurPopulation-29.512 millionLanguages, MalayIslam (60%), Buddhism (19%), Christianity (12%). PoliticsNote: Michael al Mu XI la Mu bills he secularization. Samuel Hill soil babut Thuan-gu The Hajj, Abdullah al-Mu-Han Lim Sam Shah Sultan Hotel Massa Izumi Hume BA di Shah. The 14 elements II (Almu'tasimu Billahi Muhibbuddin Tuanku Alhaj His Majesty Abdul Halim Mu'adzam Shah Sultan Badlishah ibini The Agong Almarhum Yang di-Pertuan XIV of Malaysia).Government Dato sari mu Allee punch To store sak Abdul na SIP carriers (Dato Sri Mohd Najib bin Tun Abdul Razak)Foreign Minister Dato sari Carney hat flying Japanese fa Aman (Dato Sri Anifah bin Haji Aman)Regime has Federation II (Yang di-Pertuan Agong) is elected head of State, Prince 9 States (Johor Terengganu Kuala Pahang salang ngo gate se da Kelantan nekri Jambi LAN pre and palit) and changing pins merge position. Agenda item 5 years has the Prime Minister, head of Government, federal and State mukmontri (Menteri Besar in the event of the owner or Chief Minister in the State, parents if there are no parents, State officials) as head of the State Government.Administrative divisions Malaysia is divided into 13 districts: State of Kuala Pahang salang ngo. Melaka Johor pre se, Jambi nekri LAN Kelantan and Terengganu, Penang, Sabah and Sarawak palit da Gate 3-Federal Lands: Kuala Lumpur (capital) City of Putrajaya and Labuan Island (City Government).National day August 31Date established diplomatic relations on August 31 2500 (1957) Thailand. Economy and trade.The monetary unit of approximately baht, Ringgit (1 ringgit 10.17. Status-Feb-2556 (2013))Gross domestic product us $ 307.7 billion (year-2555 (2012))Income per head of us $ 10502 Nations (2555 (2012) year). Economic expansion 5.2 per cent (year-2555 (2012))Major electrical and electronic product import The machine and Korn chemicals. Finished oil. The transport equipment.Exports of electrical and electronic products, major tharot waiting for Knicks. Machinery and equipment, chemicals The transport equipment, metal productsAnik palm oil, chemicals Liquid natural gas (LNG), crude oil The relationship between Thailand to MalaysiaBilateral relations between Thailand to MalaysiaAn overview of the general relations.ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับมาเลเซียเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2500 และมีสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ คนปัจจุบันคือ นายกฤต ไกรจิตติ ซึ่งเดินทางไปรับหน้าที่เมื่อวันที่ 2 เดือนตุลาคม 2555 นอกจากนี้ ไทยยังมีสถานกงสุลใหญ่ในมาเลเซีย 2 แห่ง ได้แก่ (1) สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองปีนัง และ (2) สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารู สำหรับส่วนราชการและหน่วยงานต่าง ๆ ของไทย ซึ่งตั้งสำนักงานในมาเลเซียได้แก่ สำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารทั้งสามเหล่าทัพ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ สำนักงานแรงงาน และสำนักงานประสานงานตำรวจ สำนักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) มาเลเซีย Malaysia is the Embassy of Malaysia in Thailand and Malaysia Ambassador in Thailand are as follows: dato. Nazi flying hit hutsai, which elected ra position when there are May 28, 2011, and the Consulate of Malaysia in Songkhla province, and Gong ancient large annual Malaysia. Songkhla province: Mr. Sullivan fire fly Faisan Aet Muhammad Rasa League that location when the August 21, 2012.ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซียแบ่งออกเป็น 2 ด้านหลัก ได้แก่ (1) การดำเนินความร่วมมือภายใต้กลไกต่าง ๆ ที่มีอยู่ อาทิ คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีระหว่างไทยกับมาเลเซีย (Joint Commission : JC) คณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับพื้นที่ชายแดน (Joint Development Strategy : JDS) คณะกรรมการด้านความมั่นคง ได้แก่ คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee : GBC) คณะกรรมการระดับสูง (High Level Committee : HLC) และคณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาค (Regional Border Committee : RBC) ซึ่งทั้ง 3 ระดับเป็นกรอบความร่วมมือของฝ่ายทหารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้านความมั่นคง และความร่วมมือชายแดน คณะกรรมการด้านความมั่นคงกรอบอื่น ๆ เฉพาะเรื่อง อาทิ คณะกรรมการร่วมด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และความร่วมมือในกรอบ Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle (IMT-GT) และอาเซียน และ (2) ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งประกอบด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงในพื้นที่ชายแดนร่วมกัน การร่วมกันพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ชายแดนของทั้งสองประเทศและการเสริมสร้างมาตรการสร้างความไว้วางใจ (Confidence Building Measures) บนพื้นฐานของกรอบ 3Es ได้แก่ การศึกษา (Education) การจ้างงาน (Employment) และการประกอบกิจการ (Entrepreneurship) Political relations.The relationship between Thailand with Malaysia has troops from common practice, as well as set on interests shared by the two parties to realize the "aim" shared by the focus on promoting bilateral cooperation in order to support the Association in the ASEAN, both the infrastructure. To facilitate transportation, and relationships between people.Security relations.Thailand to Malaysia Army military training between commonly include the following: (1) LAND EX THAMAL exercises, which is the year when the year 2536 (1993) THALAY LAUT, (2), which has been training for the first time last year, every 2 years by a 2523 (1980) held in Thailand with Malaysia alternating host (3) SEA EX THAMAL began the year with an operating area training 2522 (1979) joint maritime border between Thailand and Malaysia in the Gulf of Thailand-Andaman Sea (4) AIR THAMAL as the air tactical operations training, according to the Thailand-Malaysia border since the year 2525 (1982) by training every year, consists of a training place.
Being translated, please wait..
Results (English) 3:[Copy]
Copied!
General information

.The location is located in the district consists of two parts, the equator, the territory is located on the Malay Peninsula, West Malaysia consists of 11 state. The trough, the Selangor Negri Sembilan Melaka. The Johor Perak Kelantan Terengganu Penang.East Malaysia is located on Borneo (Kalimantan) consists of 2 state is Sabah and Sarawak. Besides, there are divisions under the Federation. Another 3 designated is Kuala Lumpur (capital) city of Putrajaya (city government).
the area 329 758 square kilometers (about 64%, Thai)

the capital. Kuala Lumpur,

population 29.512 million people



the official language, Malay religion Islam (60%) Buddhist (19%) Christ (12%)



the city administration

.Patriarch, king, Al Mu Quintus. Mu. Bill lahee Mu hip Ubud soil Tuanku al Haji Abdul ฮาลิม Mu Azteca Sam Shah อิบิ this Alma Hume Sultan. Ba Di Shah king the 14 (His Majesty Almu 'tasimu Billahi Muhibbuddin Tuanku Alhaj Abdul Halim Mu adzam Shah.' Ibini.Sultan Badlishah The Yang di-Pertuan Agong XIV of Malaysia)
.
the government leaders Dato seri. มูห์. Hum punch Najib Tun abd Razak bin (Dato 'Sri Mohd Najib bin Tun Abdul Razak)

foreign minister Dato seri. The new ฟาห์ bin Hajji 78.8 (Dato 'Sri Anifah bin Haji Aman)

.The regime, the Federation. Do have a king (Yang di-Pertuan Agong) is the patriarch, which comes from the parent state election 9. (Johor, Selangor, Pahang, Terengganu Kedah Kelantan Negri Sembilan and Perak. ปะลิส).Each session 5 years do the prime minister as head of state and federal government, commerce (Menteri Besar case is the parent state. Chief Minister in the absence of the parent state). The government of the state
.
.Administrative divisions, Malaysia administrative divisions are 13 state, including Selangor, Pahang, and Negri Sembilan, the Melaka Johor Perak Kelantan Terengganu. Penang, Kedah ปะลิส Sabah and Sarawak, and 3 territories including Kuala Lumpur.
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: